ข้อมูลสินค้านวัตกรรม-
• รายละเอียดของสินค้านวัตกรรม
นักวิจัย
อาจารย์เปรมมิกา ศิริวิเศษวงศ์
นายจิรวงศ์ โตโสม
นางสาวบุญฑริกา พลเยี่ยม
นายพันธ์พจน์ ศรีประดู่
นางสาวกรภัทร์ นวลเจริญ
นายวรวิทย์ บุญประจักษ์
นางสาวธาริณี ศรีตระการ
คณะการจัดการธุรกิจอาหารและคณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ข้าวเกรียบน้ำพริกคณาศรีเสริมแคลเซียมและใยอาหารจากปลานิล ทำจากปลานิลโดยมีการรับปลานิลมาจากธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำของชุมชน เราใช้ปลาทั้งตัวในการผลิตโดยแทบจะไม่มีส่วนของเสียหลงเหลือทิ้งสะสมกลายเป็นขยะเน่าเหม็นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในทางกลับกันส่วนของเสียที่เหลือใช้เหล่านี้มาแปรรูปและพัฒนาออกมาเป็นผงแคลเซียม ซึ่งมีชื่อว่า แคลเซียมไฮดรอกซีอะพาไทต์ (Calcium Hydroxyapatite) ที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึมได้ดีที่สุดจากปลาน้ำจืด ทั้งยังมีการคิดค้นสูตรและใช้นวัตกรรม Food tech ในการผลิตผงแคลเซียมขึ้นมา เพื่อให้ใส่ลงไปในตัวข้าวเกรียบซึ่งถือเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับก้างปลาเป็นอย่างมาก และข้าวเกรียบยังมีรสชาติของน้ำพริกสูตรเด็ดซึ่งผ่านงานวิจัยและลูกค้าพึงพอใจแล้ว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ด้านที่ 1 นวัตกรรมวัตถุดิบ เราใช้ก้างปลาและเกล็ดปลาไปบดจนเป็นผง ที่มีปริมาณแคลเซียมสูงถึง 6,608 mg /100 g เพิ่มส่วนผสมกลิ่นหอมจากสมุนไพรพื้นบ้าน ปราศจากการแต่งกลิ่น และช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
ด้านที่ 2 นวัตกรรมด้านกรรมวิธีการทำ การใช้กระบวนการทางด้าน Food Technology
ด้านที่ 3 บรรจุภัณฑ์สินค้า ใช้หลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นแนวทางการพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ อีกทั้งรูปแบบซองที่ใช้ ถ่ายทอดเอกลักษณ์วัฒนธรรมของจังหวัด
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นิศานันท์ ตามกาล
โทรศัพท์ 028551197
โทรศัพท์มือถือ 0811385553
Email nisanunttam@pim.ac.th
สำนักบริหารกลยุทธ์และนวัตกรรม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
อาจารย์เปรมมิกา ศิริวิเศษวงศ์
นายจิรวงศ์ โตโสม
นางสาวบุญฑริกา พลเยี่ยม
นายพันธ์พจน์ ศรีประดู่
นางสาวกรภัทร์ นวลเจริญ
นายวรวิทย์ บุญประจักษ์
นางสาวธาริณี ศรีตระการ
คณะการจัดการธุรกิจอาหารและคณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ข้าวเกรียบน้ำพริกคณาศรีเสริมแคลเซียมและใยอาหารจากปลานิล ทำจากปลานิลโดยมีการรับปลานิลมาจากธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำของชุมชน เราใช้ปลาทั้งตัวในการผลิตโดยแทบจะไม่มีส่วนของเสียหลงเหลือทิ้งสะสมกลายเป็นขยะเน่าเหม็นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในทางกลับกันส่วนของเสียที่เหลือใช้เหล่านี้มาแปรรูปและพัฒนาออกมาเป็นผงแคลเซียม ซึ่งมีชื่อว่า แคลเซียมไฮดรอกซีอะพาไทต์ (Calcium Hydroxyapatite) ที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึมได้ดีที่สุดจากปลาน้ำจืด ทั้งยังมีการคิดค้นสูตรและใช้นวัตกรรม Food tech ในการผลิตผงแคลเซียมขึ้นมา เพื่อให้ใส่ลงไปในตัวข้าวเกรียบซึ่งถือเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับก้างปลาเป็นอย่างมาก และข้าวเกรียบยังมีรสชาติของน้ำพริกสูตรเด็ดซึ่งผ่านงานวิจัยและลูกค้าพึงพอใจแล้ว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ด้านที่ 1 นวัตกรรมวัตถุดิบ เราใช้ก้างปลาและเกล็ดปลาไปบดจนเป็นผง ที่มีปริมาณแคลเซียมสูงถึง 6,608 mg /100 g เพิ่มส่วนผสมกลิ่นหอมจากสมุนไพรพื้นบ้าน ปราศจากการแต่งกลิ่น และช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
ด้านที่ 2 นวัตกรรมด้านกรรมวิธีการทำ การใช้กระบวนการทางด้าน Food Technology
ด้านที่ 3 บรรจุภัณฑ์สินค้า ใช้หลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นแนวทางการพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ อีกทั้งรูปแบบซองที่ใช้ ถ่ายทอดเอกลักษณ์วัฒนธรรมของจังหวัด
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นิศานันท์ ตามกาล
โทรศัพท์ 028551197
โทรศัพท์มือถือ 0811385553
Email nisanunttam@pim.ac.th
สำนักบริหารกลยุทธ์และนวัตกรรม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
• วันที่เผยแพร่ :
-
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
กระบวนการผลิตผงแคลเซียมไฮดรอกซิลอะพาไทด์จากปลาน้ำจืด
นักวิจัย
อาจารย์เปรมมิกา ศิริวิเศษวงศ์
นายจิรวงศ์ โตโสม
นางสาวบุญฑริกา พลเยี่ยม
นายพันธ์พจน์ ศรีประดู่
นางสาวกรภัทร์ นวลเจริญ
นายวรวิทย์ บุญประจักษ์
นางสาวธาริณี ศรีตระการ
คณะการจัดการธุรกิจอาหารและคณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ข้าวเกรียบน้ำพริกคณาศรีเสริมแคลเซียมและใยอาหารจากปลานิล ทำจากปลานิลโดยมีการรับปลานิลมาจากธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำของชุมชน เราใช้ปลาทั้งตัวในการผลิตโดยแทบจะไม่มีส่วนของเสียหลงเหลือทิ้งสะสมกลายเป็นขยะเน่าเหม็นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในทางกลับกันส่วนของเสียที่เหลือใช้เหล่านี้มาแปรรูปและพัฒนาออกมาเป็นผงแคลเซียม ซึ่งมีชื่อว่า แคลเซียมไฮดรอกซีอะพาไทต์ (Calcium Hydroxyapatite) ที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึมได้ดีที่สุดจากปลาน้ำจืด ทั้งยังมีการคิดค้นสูตรและใช้นวัตกรรม Food tech ในการผลิตผงแคลเซียมขึ้นมา เพื่อให้ใส่ลงไปในตัวข้าวเกรียบซึ่งถือเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับก้างปลาเป็นอย่างมาก และข้าวเกรียบยังมีรสชาติของน้ำพริกสูตรเด็ดซึ่งผ่านงานวิจัยและลูกค้าพึงพอใจแล้ว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ด้านที่ 1 นวัตกรรมวัตถุดิบ เราใช้ก้างปลาและเกล็ดปลาไปบดจนเป็นผง ที่มีปริมาณแคลเซียมสูงถึง 6,608 mg /100 g เพิ่มส่วนผสมกลิ่นหอมจากสมุนไพรพื้นบ้าน ปราศจากการแต่งกลิ่น และช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
ด้านที่ 2 นวัตกรรมด้านกรรมวิธีการทำ การใช้กระบวนการทางด้าน Food Technology
ด้านที่ 3 บรรจุภัณฑ์สินค้า ใช้หลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นแนวทางการพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ อีกทั้งรูปแบบซองที่ใช้ ถ่ายทอดเอกลักษณ์วัฒนธรรมของจังหวัด
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นิศานันท์ ตามกาล
โทรศัพท์ 028551197
โทรศัพท์มือถือ 0811385553
Email nisanunttam@pim.ac.th
สำนักบริหารกลยุทธ์และนวัตกรรม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
อาจารย์เปรมมิกา ศิริวิเศษวงศ์
นายจิรวงศ์ โตโสม
นางสาวบุญฑริกา พลเยี่ยม
นายพันธ์พจน์ ศรีประดู่
นางสาวกรภัทร์ นวลเจริญ
นายวรวิทย์ บุญประจักษ์
นางสาวธาริณี ศรีตระการ
คณะการจัดการธุรกิจอาหารและคณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ข้าวเกรียบน้ำพริกคณาศรีเสริมแคลเซียมและใยอาหารจากปลานิล ทำจากปลานิลโดยมีการรับปลานิลมาจากธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำของชุมชน เราใช้ปลาทั้งตัวในการผลิตโดยแทบจะไม่มีส่วนของเสียหลงเหลือทิ้งสะสมกลายเป็นขยะเน่าเหม็นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในทางกลับกันส่วนของเสียที่เหลือใช้เหล่านี้มาแปรรูปและพัฒนาออกมาเป็นผงแคลเซียม ซึ่งมีชื่อว่า แคลเซียมไฮดรอกซีอะพาไทต์ (Calcium Hydroxyapatite) ที่ร่างกายมนุษย์สามารถดูดซึมได้ดีที่สุดจากปลาน้ำจืด ทั้งยังมีการคิดค้นสูตรและใช้นวัตกรรม Food tech ในการผลิตผงแคลเซียมขึ้นมา เพื่อให้ใส่ลงไปในตัวข้าวเกรียบซึ่งถือเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับก้างปลาเป็นอย่างมาก และข้าวเกรียบยังมีรสชาติของน้ำพริกสูตรเด็ดซึ่งผ่านงานวิจัยและลูกค้าพึงพอใจแล้ว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ด้านที่ 1 นวัตกรรมวัตถุดิบ เราใช้ก้างปลาและเกล็ดปลาไปบดจนเป็นผง ที่มีปริมาณแคลเซียมสูงถึง 6,608 mg /100 g เพิ่มส่วนผสมกลิ่นหอมจากสมุนไพรพื้นบ้าน ปราศจากการแต่งกลิ่น และช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
ด้านที่ 2 นวัตกรรมด้านกรรมวิธีการทำ การใช้กระบวนการทางด้าน Food Technology
ด้านที่ 3 บรรจุภัณฑ์สินค้า ใช้หลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นแนวทางการพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ อีกทั้งรูปแบบซองที่ใช้ ถ่ายทอดเอกลักษณ์วัฒนธรรมของจังหวัด
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นิศานันท์ ตามกาล
โทรศัพท์ 028551197
โทรศัพท์มือถือ 0811385553
Email nisanunttam@pim.ac.th
สำนักบริหารกลยุทธ์และนวัตกรรม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• สาขา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การแปรรูปอาหาร
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: -
|
ผู้เยี่ยมชม: 57
สินค้านวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf