ข้อมูลสินค้านวัตกรรม-
• รายละเอียดของสินค้านวัตกรรม
นักวิจัย
ดร.มาโนช นาคสาทา
ดร.วิมล นาคสาทา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 1803000237
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ผ้าฝ้ายเป็นสิ่งทอเส้นใยธรรมชาติที่มีการนำมาใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย เป็นสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของภาคเหนือ การพัฒนาผ้าฝ้ายให้มีคุณสมบัติทนไฟโดยวิธีการอย่างง่าย เป็นการตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการสิ่งทอ ในการนำไปเป็นจุดขายและเพิ่มมูลค่าของผ้าฝ้าย
นวัตกรรมผ้าฝ้ายทนไฟนี้ ถูกพัฒนากรรมวิธีการผลิต ให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตได้โดยง่าย ใช้วัตถุดิบที่หาได้ไม่ยากและใช้เครื่องมือน้อย เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ์และของใช้ต่างๆ ในบ้านเรือนที่ทำจากผ้าฝ้าย เช่น ผ้าม่าน พรม ปลอกหมอน ผ้าหุ้มโซฟา ให้มีสมบัติทนไฟไม่ลุกติดไฟ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ลดความรุนแรงและอัตราการเกิดอัคคีภัย รวมถึงสามารถประยุกต์นำไปใช้กับช่างผู้รับเหมา ในการรับพ่นเคลือบผ้าฝ้ายที่ติดตั้งประดับตกแต่งในที่อยู่อาศัย อาคารห้างร้าน เพื่อเพิ่มสมบัติทนไฟให้กับผ้า
นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตเป็นชุดทนไฟสำหรับพนักงานดับเพลิงหรือผู้ที่ต้องทำงานใกล้แหล่งความร้อน ให้สามารถจัดหาชุดทนไฟได้ในราคาถูกแทนการใช้ชุดทนไฟราคาแพงจากต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการผลิตผ้าฝ้ายทนไฟที่พัฒนาขึ้น ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ATSM D 777-97 โดยชิ้นงานทดสอบจะไม่ลามไฟและมีความยาวของถ่านหลังการเผาประมาณ 7 เซนติเมตร ส่วนชิ้นส่วนที่มีคุณสมบัติกันน้ำด้วยนั้นสามารถต้านทานการซึมผ่านของน้ำได้นานถึง 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ ผ้าผ้ายที่ถูกปรับปรุงคุณสมบัติจะมีผิวสัมผัสที่แข็งกระด้างขึ้นเมื่อเทียบกับผ้าฝ้ายปกติ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นางสาวณัฐพร สาครวาสี
โทรศัพท์มือถือ 0862245466
Email licensing@step.cmu.ac.th
อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU STeP)
ดร.มาโนช นาคสาทา
ดร.วิมล นาคสาทา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 1803000237
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ผ้าฝ้ายเป็นสิ่งทอเส้นใยธรรมชาติที่มีการนำมาใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย เป็นสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของภาคเหนือ การพัฒนาผ้าฝ้ายให้มีคุณสมบัติทนไฟโดยวิธีการอย่างง่าย เป็นการตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการสิ่งทอ ในการนำไปเป็นจุดขายและเพิ่มมูลค่าของผ้าฝ้าย
นวัตกรรมผ้าฝ้ายทนไฟนี้ ถูกพัฒนากรรมวิธีการผลิต ให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตได้โดยง่าย ใช้วัตถุดิบที่หาได้ไม่ยากและใช้เครื่องมือน้อย เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ์และของใช้ต่างๆ ในบ้านเรือนที่ทำจากผ้าฝ้าย เช่น ผ้าม่าน พรม ปลอกหมอน ผ้าหุ้มโซฟา ให้มีสมบัติทนไฟไม่ลุกติดไฟ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ลดความรุนแรงและอัตราการเกิดอัคคีภัย รวมถึงสามารถประยุกต์นำไปใช้กับช่างผู้รับเหมา ในการรับพ่นเคลือบผ้าฝ้ายที่ติดตั้งประดับตกแต่งในที่อยู่อาศัย อาคารห้างร้าน เพื่อเพิ่มสมบัติทนไฟให้กับผ้า
นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตเป็นชุดทนไฟสำหรับพนักงานดับเพลิงหรือผู้ที่ต้องทำงานใกล้แหล่งความร้อน ให้สามารถจัดหาชุดทนไฟได้ในราคาถูกแทนการใช้ชุดทนไฟราคาแพงจากต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการผลิตผ้าฝ้ายทนไฟที่พัฒนาขึ้น ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ATSM D 777-97 โดยชิ้นงานทดสอบจะไม่ลามไฟและมีความยาวของถ่านหลังการเผาประมาณ 7 เซนติเมตร ส่วนชิ้นส่วนที่มีคุณสมบัติกันน้ำด้วยนั้นสามารถต้านทานการซึมผ่านของน้ำได้นานถึง 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ ผ้าผ้ายที่ถูกปรับปรุงคุณสมบัติจะมีผิวสัมผัสที่แข็งกระด้างขึ้นเมื่อเทียบกับผ้าฝ้ายปกติ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นางสาวณัฐพร สาครวาสี
โทรศัพท์มือถือ 0862245466
Email licensing@step.cmu.ac.th
อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU STeP)
• วันที่เผยแพร่ :
-
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
ผ้าฝ้ายทนไฟ
นักวิจัย
ดร.มาโนช นาคสาทา
ดร.วิมล นาคสาทา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 1803000237
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ผ้าฝ้ายเป็นสิ่งทอเส้นใยธรรมชาติที่มีการนำมาใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย เป็นสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของภาคเหนือ การพัฒนาผ้าฝ้ายให้มีคุณสมบัติทนไฟโดยวิธีการอย่างง่าย เป็นการตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการสิ่งทอ ในการนำไปเป็นจุดขายและเพิ่มมูลค่าของผ้าฝ้าย
นวัตกรรมผ้าฝ้ายทนไฟนี้ ถูกพัฒนากรรมวิธีการผลิต ให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตได้โดยง่าย ใช้วัตถุดิบที่หาได้ไม่ยากและใช้เครื่องมือน้อย เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ์และของใช้ต่างๆ ในบ้านเรือนที่ทำจากผ้าฝ้าย เช่น ผ้าม่าน พรม ปลอกหมอน ผ้าหุ้มโซฟา ให้มีสมบัติทนไฟไม่ลุกติดไฟ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ลดความรุนแรงและอัตราการเกิดอัคคีภัย รวมถึงสามารถประยุกต์นำไปใช้กับช่างผู้รับเหมา ในการรับพ่นเคลือบผ้าฝ้ายที่ติดตั้งประดับตกแต่งในที่อยู่อาศัย อาคารห้างร้าน เพื่อเพิ่มสมบัติทนไฟให้กับผ้า
นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตเป็นชุดทนไฟสำหรับพนักงานดับเพลิงหรือผู้ที่ต้องทำงานใกล้แหล่งความร้อน ให้สามารถจัดหาชุดทนไฟได้ในราคาถูกแทนการใช้ชุดทนไฟราคาแพงจากต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการผลิตผ้าฝ้ายทนไฟที่พัฒนาขึ้น ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ATSM D 777-97 โดยชิ้นงานทดสอบจะไม่ลามไฟและมีความยาวของถ่านหลังการเผาประมาณ 7 เซนติเมตร ส่วนชิ้นส่วนที่มีคุณสมบัติกันน้ำด้วยนั้นสามารถต้านทานการซึมผ่านของน้ำได้นานถึง 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ ผ้าผ้ายที่ถูกปรับปรุงคุณสมบัติจะมีผิวสัมผัสที่แข็งกระด้างขึ้นเมื่อเทียบกับผ้าฝ้ายปกติ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นางสาวณัฐพร สาครวาสี
โทรศัพท์มือถือ 0862245466
Email licensing@step.cmu.ac.th
อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU STeP)
ดร.มาโนช นาคสาทา
ดร.วิมล นาคสาทา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 1803000237
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ผ้าฝ้ายเป็นสิ่งทอเส้นใยธรรมชาติที่มีการนำมาใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย เป็นสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของภาคเหนือ การพัฒนาผ้าฝ้ายให้มีคุณสมบัติทนไฟโดยวิธีการอย่างง่าย เป็นการตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการสิ่งทอ ในการนำไปเป็นจุดขายและเพิ่มมูลค่าของผ้าฝ้าย
นวัตกรรมผ้าฝ้ายทนไฟนี้ ถูกพัฒนากรรมวิธีการผลิต ให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตได้โดยง่าย ใช้วัตถุดิบที่หาได้ไม่ยากและใช้เครื่องมือน้อย เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ์และของใช้ต่างๆ ในบ้านเรือนที่ทำจากผ้าฝ้าย เช่น ผ้าม่าน พรม ปลอกหมอน ผ้าหุ้มโซฟา ให้มีสมบัติทนไฟไม่ลุกติดไฟ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ลดความรุนแรงและอัตราการเกิดอัคคีภัย รวมถึงสามารถประยุกต์นำไปใช้กับช่างผู้รับเหมา ในการรับพ่นเคลือบผ้าฝ้ายที่ติดตั้งประดับตกแต่งในที่อยู่อาศัย อาคารห้างร้าน เพื่อเพิ่มสมบัติทนไฟให้กับผ้า
นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตเป็นชุดทนไฟสำหรับพนักงานดับเพลิงหรือผู้ที่ต้องทำงานใกล้แหล่งความร้อน ให้สามารถจัดหาชุดทนไฟได้ในราคาถูกแทนการใช้ชุดทนไฟราคาแพงจากต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการผลิตผ้าฝ้ายทนไฟที่พัฒนาขึ้น ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ATSM D 777-97 โดยชิ้นงานทดสอบจะไม่ลามไฟและมีความยาวของถ่านหลังการเผาประมาณ 7 เซนติเมตร ส่วนชิ้นส่วนที่มีคุณสมบัติกันน้ำด้วยนั้นสามารถต้านทานการซึมผ่านของน้ำได้นานถึง 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ ผ้าผ้ายที่ถูกปรับปรุงคุณสมบัติจะมีผิวสัมผัสที่แข็งกระด้างขึ้นเมื่อเทียบกับผ้าฝ้ายปกติ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นางสาวณัฐพร สาครวาสี
โทรศัพท์มือถือ 0862245466
Email licensing@step.cmu.ac.th
อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU STeP)

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• สาขา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: -
|
ผู้เยี่ยมชม: 80
สินค้านวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf