ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ปี 2558
การวิจัยเพื่อนำหญ้าคาซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุดจึงได้เกิดขึ้น ซึ่งสังเกตได้ว่าเทคโนโลยีทางวัสดุเป็นงานวิจัยสาขาหนึ่งที่คำนึงถึงเศษวัสดุเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรม ซึ่งหากนำมาพัฒนาปรับปรุงวัสดุเหลือทิ้งให้มีคุณค่าก็สามารถลดการใช้ทัพยากรธรรมชาติ และเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น แต่ผลิตภัณฑ์จากหญ้าในปัจจุบันยังคงไม่มีความนิยม และขาดความแปลกใหม่ ความแตกต่าง ความสวยงาม และประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ ซึ่งหากมีการนำหญ้าคามาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปเป็นกระดาษและฝ้าเพดาน เพื่อเพิ่มมูลค่าก็จะทำให้เศรษฐกิจภายในชุมชน ท้องถิ่นและใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปัจจุบันอุตสาหกรรมกระดาษเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยวัสดุที่นำมาผลิตส่วนใหญ่จะได้มาจากลำต้นของต้นไม้ ซึ่งเป็นการทำลายป่าและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ ดังนั้นจึงมีความพยายาม ที่นำเส้นใยจากพืชที่ไม่ได้จากลำต้นมาใช้ทดแทนวัชพืชจัดเป็นพืช ที่มีความน่าสนใจเนื่องจากวัชพืชสามารถพบได้ทั่วไปในประเทศไทยและเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ทั้งปี ปัจจุบันได้มีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถลดการใช้สารเคมีและได้คุณภาพของเยื่อและกระดาษที่สูงขึ้น ลดการใช้ทรัพยากรป่าไม้ และกระบวนการผลิตที่ลงทุนสูง งานวิจัยนี้มีแนวคิดที่จะนำวัชพืช ได้แก่ หญ้าคา หญ้าแฝก มาใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์กระดาษ ซึ่งสามรถลดต้นทุนในการผลิตได้ 50 เปอร์เซ็นต์ จากอุตสาหกรรมการผลิตด้วยลำต้นของต้นไม้
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นางสาว วิจิตรา ผาผึ้ง
ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว เพชรา เทพเศรษฐา
2. นางสาว เกศราภรณ์ คำธิ
3. นางสาว จุฑามาศ แสงใสแก้ว
4. นาย อภิสิทธิ์ จันทร์ฟ้าเหลี่ยม
การวิจัยเพื่อนำหญ้าคาซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุดจึงได้เกิดขึ้น ซึ่งสังเกตได้ว่าเทคโนโลยีทางวัสดุเป็นงานวิจัยสาขาหนึ่งที่คำนึงถึงเศษวัสดุเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรม ซึ่งหากนำมาพัฒนาปรับปรุงวัสดุเหลือทิ้งให้มีคุณค่าก็สามารถลดการใช้ทัพยากรธรรมชาติ และเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น แต่ผลิตภัณฑ์จากหญ้าในปัจจุบันยังคงไม่มีความนิยม และขาดความแปลกใหม่ ความแตกต่าง ความสวยงาม และประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ ซึ่งหากมีการนำหญ้าคามาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปเป็นกระดาษและฝ้าเพดาน เพื่อเพิ่มมูลค่าก็จะทำให้เศรษฐกิจภายในชุมชน ท้องถิ่นและใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปัจจุบันอุตสาหกรรมกระดาษเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยวัสดุที่นำมาผลิตส่วนใหญ่จะได้มาจากลำต้นของต้นไม้ ซึ่งเป็นการทำลายป่าและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ ดังนั้นจึงมีความพยายาม ที่นำเส้นใยจากพืชที่ไม่ได้จากลำต้นมาใช้ทดแทนวัชพืชจัดเป็นพืช ที่มีความน่าสนใจเนื่องจากวัชพืชสามารถพบได้ทั่วไปในประเทศไทยและเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ทั้งปี ปัจจุบันได้มีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถลดการใช้สารเคมีและได้คุณภาพของเยื่อและกระดาษที่สูงขึ้น ลดการใช้ทรัพยากรป่าไม้ และกระบวนการผลิตที่ลงทุนสูง งานวิจัยนี้มีแนวคิดที่จะนำวัชพืช ได้แก่ หญ้าคา หญ้าแฝก มาใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์กระดาษ ซึ่งสามรถลดต้นทุนในการผลิตได้ 50 เปอร์เซ็นต์ จากอุตสาหกรรมการผลิตด้วยลำต้นของต้นไม้
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นางสาว วิจิตรา ผาผึ้ง
ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว เพชรา เทพเศรษฐา
2. นางสาว เกศราภรณ์ คำธิ
3. นางสาว จุฑามาศ แสงใสแก้ว
4. นาย อภิสิทธิ์ จันทร์ฟ้าเหลี่ยม
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
กระดาษหญ้าคาอนุรักษ์พลังงาน
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
• เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ทำจากหญ้าคา
• ใช้เป็นของที่ระลึก เครื่องประดับตกแต่ง หรืออื่นๆ 1ช่วยประหยัดต้นทุนในการผลิต
• ได้ผลิตภัณฑ์กระดาษที่ผลิตจากหญ้าคาที่อนุรักพลังงาน
• ฝึกความคิดสร้างสรรค์
• สร้างรายได้ให้กับนักเรียนนักศึกษา
• ประโยชน์ในการนำสิ่งประดิษฐ์ให้บริหารจักการวัชพืชให้ได้ประโยชน์สูงสุด
• ใช้เป็นของที่ระลึก เครื่องประดับตกแต่ง หรืออื่นๆ 1ช่วยประหยัดต้นทุนในการผลิต
• ได้ผลิตภัณฑ์กระดาษที่ผลิตจากหญ้าคาที่อนุรักพลังงาน
• ฝึกความคิดสร้างสรรค์
• สร้างรายได้ให้กับนักเรียนนักศึกษา
• ประโยชน์ในการนำสิ่งประดิษฐ์ให้บริหารจักการวัชพืชให้ได้ประโยชน์สูงสุด

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 700
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf