ข้อมูลบริการด้านนวัตกรรม-
• รายละเอียดของบริการ
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล โดยสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น จึงวางเป้าหมายในการดำเนินงาน คือการพัฒนาเครือข่ายและสร้างศักยภาพการเติบโตของวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น (From Startup to Scale Up) ที่มุ่งสู่การสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทยอย่างแข็งแกร่งต่อไป เพื่อให้ประเทศไทยสามารถมีบทบาทนำทั้งในเวทีภูมิภาคและเวทีโลก
ตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ปี พ.ศ. 2561 – 2564 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลที่มีพลวัตร บนฐานของสังคมที่รู้คิดรู้เท่าทัน และกำลังคนที่สามารถปรับตัวและใช้โอกาสจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล และได้กำหนดให้การพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น (Digital startup) เป็นแผนงานหลักในการขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยมีเป้าหมายที่ท้าทาย เช่น การพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพ จำนวน 1,000 ราย ในระยะเวลา 4 ปี (2561 – 2564) รวมถึงการเพิ่มโอกาสในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่ประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติ ซึ่งโดยหลักสากล มีการพิจารณาจากการที่วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) มีมูลค่า (Valuation) เกิน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือที่เรียกว่ายูนิคอร์น (Unicorn)
ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ตลอดช่วงระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมา โดยการส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นผ่านกลไกต่างๆ ทั้งจากความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และภาคประชาสังคม ตั้งแต่การสร้างความตระหนัก ซึ่งส่งผลให้เกิดความเข้าใจ การตื่นตัว และขยายโอกาสให้วิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นเติบโตมากขึ้นเป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันก็มีผู้เล่นรายใหม่ๆ เข้ามาในระบบนิเวศการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ส่งผลให้ประเทศไทยเริ่มได้รับการจับตามองในระดับนานาชาติในหลายมิติ อาทิ ประเทศไทยถือเป็นประเทศที่กิจการขนาดใหญ่ให้ความสนใจในการทำงานร่วมกับ Startup อย่างเข้มข้นมากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน เห็นได้จากการก่อตั้งกองทุนร่วมลงทุนของกิจการขนาดใหญ่ (Corporate Venture Capital: CVC) ที่มีมูลค่ารวมกันเกินกว่า 600 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ
ในขณะเดียวกัน พลวัตรในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นในบริบทโลก มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน อันเป็นผลมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรวดเร็ว ทั้งการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีดิจิทัลอุบัติใหม่ (Emerging digital technologies) ที่มีผลต่อรูปแบบการประกอบธุรกิจ เช่น เทคโนโลยีบล็อกเชน และการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด เช่น เทคโนโลยี IoT และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) โดยวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว ถือเป็นกลุ่มที่มีความได้เปรียบทางการแข่งขันสูงและดึงดูดการลงทุนจากทั่วโลก จากรายงานพบว่า กลุ่มสตาร์ทอัพที่ได้รับการลงทุนเพิ่มสูงที่สุดในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่ (1) สาขา Advanced Manufacturing & Robotics (2) สาขา AgTech & New Food (3) สาขา Blockchain และ (4) สาขา AI, Big Data & Analytics ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่ประเทศไทยต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพในการเชิงเทคโนโลยีที่จะมีผลกระทบต่อเศรษกิจโลกในอนาคต เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้ประเทศในระยะยาว
ตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ปี พ.ศ. 2561 – 2564 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลที่มีพลวัตร บนฐานของสังคมที่รู้คิดรู้เท่าทัน และกำลังคนที่สามารถปรับตัวและใช้โอกาสจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล และได้กำหนดให้การพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น (Digital startup) เป็นแผนงานหลักในการขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยมีเป้าหมายที่ท้าทาย เช่น การพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพ จำนวน 1,000 ราย ในระยะเวลา 4 ปี (2561 – 2564) รวมถึงการเพิ่มโอกาสในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่ประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติ ซึ่งโดยหลักสากล มีการพิจารณาจากการที่วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) มีมูลค่า (Valuation) เกิน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือที่เรียกว่ายูนิคอร์น (Unicorn)
ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ตลอดช่วงระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมา โดยการส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นผ่านกลไกต่างๆ ทั้งจากความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และภาคประชาสังคม ตั้งแต่การสร้างความตระหนัก ซึ่งส่งผลให้เกิดความเข้าใจ การตื่นตัว และขยายโอกาสให้วิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นเติบโตมากขึ้นเป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันก็มีผู้เล่นรายใหม่ๆ เข้ามาในระบบนิเวศการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ส่งผลให้ประเทศไทยเริ่มได้รับการจับตามองในระดับนานาชาติในหลายมิติ อาทิ ประเทศไทยถือเป็นประเทศที่กิจการขนาดใหญ่ให้ความสนใจในการทำงานร่วมกับ Startup อย่างเข้มข้นมากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน เห็นได้จากการก่อตั้งกองทุนร่วมลงทุนของกิจการขนาดใหญ่ (Corporate Venture Capital: CVC) ที่มีมูลค่ารวมกันเกินกว่า 600 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ
ในขณะเดียวกัน พลวัตรในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นในบริบทโลก มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน อันเป็นผลมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรวดเร็ว ทั้งการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีดิจิทัลอุบัติใหม่ (Emerging digital technologies) ที่มีผลต่อรูปแบบการประกอบธุรกิจ เช่น เทคโนโลยีบล็อกเชน และการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด เช่น เทคโนโลยี IoT และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) โดยวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว ถือเป็นกลุ่มที่มีความได้เปรียบทางการแข่งขันสูงและดึงดูดการลงทุนจากทั่วโลก จากรายงานพบว่า กลุ่มสตาร์ทอัพที่ได้รับการลงทุนเพิ่มสูงที่สุดในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่ (1) สาขา Advanced Manufacturing & Robotics (2) สาขา AgTech & New Food (3) สาขา Blockchain และ (4) สาขา AI, Big Data & Analytics ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่ประเทศไทยต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพในการเชิงเทคโนโลยีที่จะมีผลกระทบต่อเศรษกิจโลกในอนาคต เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้ประเทศในระยะยาว
• ประเภทบริการ :
หน่วยงานภาครัฐทั่วไปในพื้นที่
• Keyword :
การพัฒนา, ระบบนิเวศน์, วิสาหกิจ
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
การพัฒนาระบบนิเวศน์วิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล โดยสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น จึงวางเป้าหมายในการดำเนินงาน คือการพัฒนาเครือข่ายและสร้างศักยภาพการเติบโตของวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น (From Startup to Scale Up) ที่มุ่งสู่การสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทยอย่างแข็งแกร่งต่อไป เพื่อให้ประเทศไทยสามารถมีบทบาทนำทั้งในเวทีภูมิภาคและเวทีโลก
ตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ปี พ.ศ. 2561 – 2564 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลที่มีพลวัตร บนฐานของสังคมที่รู้คิดรู้เท่าทัน และกำลังคนที่สามารถปรับตัวและใช้โอกาสจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล และได้กำหนดให้การพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น (Digital startup) เป็นแผนงานหลักในการขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยมีเป้าหมายที่ท้าทาย เช่น การพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพ จำนวน 1,000 ราย ในระยะเวลา 4 ปี (2561 – 2564) รวมถึงการเพิ่มโอกาสในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่ประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติ ซึ่งโดยหลักสากล มีการพิจารณาจากการที่วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) มีมูลค่า (Valuation) เกิน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือที่เรียกว่ายูนิคอร์น (Unicorn)
ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ตลอดช่วงระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมา โดยการส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นผ่านกลไกต่างๆ ทั้งจากความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และภาคประชาสังคม ตั้งแต่การสร้างความตระหนัก ซึ่งส่งผลให้เกิดความเข้าใจ การตื่นตัว และขยายโอกาสให้วิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นเติบโตมากขึ้นเป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันก็มีผู้เล่นรายใหม่ๆ เข้ามาในระบบนิเวศการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ส่งผลให้ประเทศไทยเริ่มได้รับการจับตามองในระดับนานาชาติในหลายมิติ อาทิ ประเทศไทยถือเป็นประเทศที่กิจการขนาดใหญ่ให้ความสนใจในการทำงานร่วมกับ Startup อย่างเข้มข้นมากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน เห็นได้จากการก่อตั้งกองทุนร่วมลงทุนของกิจการขนาดใหญ่ (Corporate Venture Capital: CVC) ที่มีมูลค่ารวมกันเกินกว่า 600 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ
ในขณะเดียวกัน พลวัตรในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นในบริบทโลก มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน อันเป็นผลมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรวดเร็ว ทั้งการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีดิจิทัลอุบัติใหม่ (Emerging digital technologies) ที่มีผลต่อรูปแบบการประกอบธุรกิจ เช่น เทคโนโลยีบล็อกเชน และการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด เช่น เทคโนโลยี IoT และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) โดยวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว ถือเป็นกลุ่มที่มีความได้เปรียบทางการแข่งขันสูงและดึงดูดการลงทุนจากทั่วโลก จากรายงานพบว่า กลุ่มสตาร์ทอัพที่ได้รับการลงทุนเพิ่มสูงที่สุดในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่ (1) สาขา Advanced Manufacturing & Robotics (2) สาขา AgTech & New Food (3) สาขา Blockchain และ (4) สาขา AI, Big Data & Analytics ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่ประเทศไทยต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพในการเชิงเทคโนโลยีที่จะมีผลกระทบต่อเศรษกิจโลกในอนาคต เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้ประเทศในระยะยาว
ตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ปี พ.ศ. 2561 – 2564 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลที่มีพลวัตร บนฐานของสังคมที่รู้คิดรู้เท่าทัน และกำลังคนที่สามารถปรับตัวและใช้โอกาสจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล และได้กำหนดให้การพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น (Digital startup) เป็นแผนงานหลักในการขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยมีเป้าหมายที่ท้าทาย เช่น การพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพ จำนวน 1,000 ราย ในระยะเวลา 4 ปี (2561 – 2564) รวมถึงการเพิ่มโอกาสในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่ประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติ ซึ่งโดยหลักสากล มีการพิจารณาจากการที่วิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) มีมูลค่า (Valuation) เกิน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือที่เรียกว่ายูนิคอร์น (Unicorn)
ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ตลอดช่วงระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมา โดยการส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นผ่านกลไกต่างๆ ทั้งจากความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และภาคประชาสังคม ตั้งแต่การสร้างความตระหนัก ซึ่งส่งผลให้เกิดความเข้าใจ การตื่นตัว และขยายโอกาสให้วิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นเติบโตมากขึ้นเป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันก็มีผู้เล่นรายใหม่ๆ เข้ามาในระบบนิเวศการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ส่งผลให้ประเทศไทยเริ่มได้รับการจับตามองในระดับนานาชาติในหลายมิติ อาทิ ประเทศไทยถือเป็นประเทศที่กิจการขนาดใหญ่ให้ความสนใจในการทำงานร่วมกับ Startup อย่างเข้มข้นมากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน เห็นได้จากการก่อตั้งกองทุนร่วมลงทุนของกิจการขนาดใหญ่ (Corporate Venture Capital: CVC) ที่มีมูลค่ารวมกันเกินกว่า 600 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ
ในขณะเดียวกัน พลวัตรในการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นในบริบทโลก มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน อันเป็นผลมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรวดเร็ว ทั้งการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีดิจิทัลอุบัติใหม่ (Emerging digital technologies) ที่มีผลต่อรูปแบบการประกอบธุรกิจ เช่น เทคโนโลยีบล็อกเชน และการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด เช่น เทคโนโลยี IoT และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) โดยวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว ถือเป็นกลุ่มที่มีความได้เปรียบทางการแข่งขันสูงและดึงดูดการลงทุนจากทั่วโลก จากรายงานพบว่า กลุ่มสตาร์ทอัพที่ได้รับการลงทุนเพิ่มสูงที่สุดในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาได้แก่ (1) สาขา Advanced Manufacturing & Robotics (2) สาขา AgTech & New Food (3) สาขา Blockchain และ (4) สาขา AI, Big Data & Analytics ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่ประเทศไทยต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นที่มีศักยภาพในการเชิงเทคโนโลยีที่จะมีผลกระทบต่อเศรษกิจโลกในอนาคต เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้ประเทศในระยะยาว

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
• ประเภทบริการ :
หน่วยงานภาครัฐทั่วไปในพื้นที่
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อื่นๆ
• Keyword :
ผู้เยี่ยมชม: 138
บริการด้านนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf