ข้อมูลสินค้านวัตกรรม-
• รายละเอียดของสินค้านวัตกรรม
นักวิจัย
รศ.ดร.วรภัทร วชิรยากรณ์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
โรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora เป็นปัญหาหลักของการผลิตผลไม้เขตร้อน ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผลไม้ พบมากในเขตเอเชียตะวันเฉียงใต้ สามารถพบได้ในยาง โกโก้ ทุเรียน ขนุน มะละกอ มะพร้าว สวนวนเกษตร และพืชตระกูลส้ม ส่งผลต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลไม้เขตร้อนในประเทศไทย ในงานที่ผ่านมามีการจัดการกับเชื้อด้วยกรรมวิธีที่แตกต่างกัน แต่มีความเหมือนกันคือ การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ทำให้เชื้อราที่ก่อให้เกิดโรคอย่าง Phytophthora ยังคงเป็นปัญหาที่ส่งผลมาถึงปัจจุบัน การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ด้วยกรรมวิธีการทำรากลอย ด้วยการสร้างชั้นคีเลตบนผิวดิน ด้วยการใช้เชื้อรา แบคทีเรีย ที่ใช้อากาศหายใจแบบองค์รวม ร่วมกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในธรรมชาติ สามารถช่วยทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora ในทุเรียนได้
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
นวัตกรรมการชักนำระบบราก เพื่อการผลิตทุเรียนคุณภาพสูง คือการสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน โดยการใช้เม็ดบีดที่มีความพรุนสูง ในการกักเก็บจุลินทรีย์รวมที่มีประโยชน์ และสามารถปลดปล่อยจุลินทรีย์ไปสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน ร่วมกับการใช้ใบไม้แห้ง ฟาง หรือหญ้าแห้ง วางบนท่ออากาศที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เพื่อให้เกิดBiome และชั้นฮิวมัส จากนั้น Biome จะสร้างชั้นคีเลทขึ้นมา เพื่อทำการปลดปล่อยธาตุอาหารให้อยู่ในสภาวะที่รากพืชสามารถดูดซึมได้ และทำให้รากพืชเจริญเติบโตในชั้นฮิวมัสเพื่อดูดซึมธาตุอาหาร ทำให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และ สารเคมีทางการเกษตรลงได้ ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดการด้านอารักขาพืชลงได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
ธนวัฒน์ โชติวรรณ
โทรศัพท์มือถือ 0888465455
Email tanawatchotivan@gmail.com
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รศ.ดร.วรภัทร วชิรยากรณ์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
โรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora เป็นปัญหาหลักของการผลิตผลไม้เขตร้อน ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผลไม้ พบมากในเขตเอเชียตะวันเฉียงใต้ สามารถพบได้ในยาง โกโก้ ทุเรียน ขนุน มะละกอ มะพร้าว สวนวนเกษตร และพืชตระกูลส้ม ส่งผลต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลไม้เขตร้อนในประเทศไทย ในงานที่ผ่านมามีการจัดการกับเชื้อด้วยกรรมวิธีที่แตกต่างกัน แต่มีความเหมือนกันคือ การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ทำให้เชื้อราที่ก่อให้เกิดโรคอย่าง Phytophthora ยังคงเป็นปัญหาที่ส่งผลมาถึงปัจจุบัน การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ด้วยกรรมวิธีการทำรากลอย ด้วยการสร้างชั้นคีเลตบนผิวดิน ด้วยการใช้เชื้อรา แบคทีเรีย ที่ใช้อากาศหายใจแบบองค์รวม ร่วมกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในธรรมชาติ สามารถช่วยทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora ในทุเรียนได้
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
นวัตกรรมการชักนำระบบราก เพื่อการผลิตทุเรียนคุณภาพสูง คือการสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน โดยการใช้เม็ดบีดที่มีความพรุนสูง ในการกักเก็บจุลินทรีย์รวมที่มีประโยชน์ และสามารถปลดปล่อยจุลินทรีย์ไปสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน ร่วมกับการใช้ใบไม้แห้ง ฟาง หรือหญ้าแห้ง วางบนท่ออากาศที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เพื่อให้เกิดBiome และชั้นฮิวมัส จากนั้น Biome จะสร้างชั้นคีเลทขึ้นมา เพื่อทำการปลดปล่อยธาตุอาหารให้อยู่ในสภาวะที่รากพืชสามารถดูดซึมได้ และทำให้รากพืชเจริญเติบโตในชั้นฮิวมัสเพื่อดูดซึมธาตุอาหาร ทำให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และ สารเคมีทางการเกษตรลงได้ ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดการด้านอารักขาพืชลงได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
ธนวัฒน์ โชติวรรณ
โทรศัพท์มือถือ 0888465455
Email tanawatchotivan@gmail.com
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• วันที่เผยแพร่ :
-
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
นวัตกรรมชักนำระบบราก เพื่อการผลิตทุเรียนคุณภาพสูง
นักวิจัย
รศ.ดร.วรภัทร วชิรยากรณ์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
โรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora เป็นปัญหาหลักของการผลิตผลไม้เขตร้อน ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผลไม้ พบมากในเขตเอเชียตะวันเฉียงใต้ สามารถพบได้ในยาง โกโก้ ทุเรียน ขนุน มะละกอ มะพร้าว สวนวนเกษตร และพืชตระกูลส้ม ส่งผลต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลไม้เขตร้อนในประเทศไทย ในงานที่ผ่านมามีการจัดการกับเชื้อด้วยกรรมวิธีที่แตกต่างกัน แต่มีความเหมือนกันคือ การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ทำให้เชื้อราที่ก่อให้เกิดโรคอย่าง Phytophthora ยังคงเป็นปัญหาที่ส่งผลมาถึงปัจจุบัน การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ด้วยกรรมวิธีการทำรากลอย ด้วยการสร้างชั้นคีเลตบนผิวดิน ด้วยการใช้เชื้อรา แบคทีเรีย ที่ใช้อากาศหายใจแบบองค์รวม ร่วมกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในธรรมชาติ สามารถช่วยทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora ในทุเรียนได้
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
นวัตกรรมการชักนำระบบราก เพื่อการผลิตทุเรียนคุณภาพสูง คือการสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน โดยการใช้เม็ดบีดที่มีความพรุนสูง ในการกักเก็บจุลินทรีย์รวมที่มีประโยชน์ และสามารถปลดปล่อยจุลินทรีย์ไปสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน ร่วมกับการใช้ใบไม้แห้ง ฟาง หรือหญ้าแห้ง วางบนท่ออากาศที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เพื่อให้เกิดBiome และชั้นฮิวมัส จากนั้น Biome จะสร้างชั้นคีเลทขึ้นมา เพื่อทำการปลดปล่อยธาตุอาหารให้อยู่ในสภาวะที่รากพืชสามารถดูดซึมได้ และทำให้รากพืชเจริญเติบโตในชั้นฮิวมัสเพื่อดูดซึมธาตุอาหาร ทำให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และ สารเคมีทางการเกษตรลงได้ ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดการด้านอารักขาพืชลงได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
ธนวัฒน์ โชติวรรณ
โทรศัพท์มือถือ 0888465455
Email tanawatchotivan@gmail.com
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รศ.ดร.วรภัทร วชิรยากรณ์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
โรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora เป็นปัญหาหลักของการผลิตผลไม้เขตร้อน ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผลไม้ พบมากในเขตเอเชียตะวันเฉียงใต้ สามารถพบได้ในยาง โกโก้ ทุเรียน ขนุน มะละกอ มะพร้าว สวนวนเกษตร และพืชตระกูลส้ม ส่งผลต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลไม้เขตร้อนในประเทศไทย ในงานที่ผ่านมามีการจัดการกับเชื้อด้วยกรรมวิธีที่แตกต่างกัน แต่มีความเหมือนกันคือ การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ทำให้เชื้อราที่ก่อให้เกิดโรคอย่าง Phytophthora ยังคงเป็นปัญหาที่ส่งผลมาถึงปัจจุบัน การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ด้วยกรรมวิธีการทำรากลอย ด้วยการสร้างชั้นคีเลตบนผิวดิน ด้วยการใช้เชื้อรา แบคทีเรีย ที่ใช้อากาศหายใจแบบองค์รวม ร่วมกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในธรรมชาติ สามารถช่วยทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora ในทุเรียนได้
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
นวัตกรรมการชักนำระบบราก เพื่อการผลิตทุเรียนคุณภาพสูง คือการสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน โดยการใช้เม็ดบีดที่มีความพรุนสูง ในการกักเก็บจุลินทรีย์รวมที่มีประโยชน์ และสามารถปลดปล่อยจุลินทรีย์ไปสร้างระบบนิเวศน์หน้าดิน ร่วมกับการใช้ใบไม้แห้ง ฟาง หรือหญ้าแห้ง วางบนท่ออากาศที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เพื่อให้เกิดBiome และชั้นฮิวมัส จากนั้น Biome จะสร้างชั้นคีเลทขึ้นมา เพื่อทำการปลดปล่อยธาตุอาหารให้อยู่ในสภาวะที่รากพืชสามารถดูดซึมได้ และทำให้รากพืชเจริญเติบโตในชั้นฮิวมัสเพื่อดูดซึมธาตุอาหาร ทำให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และ สารเคมีทางการเกษตรลงได้ ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดการด้านอารักขาพืชลงได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
ธนวัฒน์ โชติวรรณ
โทรศัพท์มือถือ 0888465455
Email tanawatchotivan@gmail.com
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• สาขา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: -
|
ผู้เยี่ยมชม: 16
สินค้านวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf