ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ปี 2562

ใบเหลียง (Baegu) มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปตามท้องถิ่น เช่น ผักเหมียง ผักเมี่ยง เป็นไม้พุ่มมีความสูงประมาณ 3-4 เมตร ใบมีสีเขียวสด แต่หากปลูกไว้กลางแจ้ง สีใบจะจางหรือกลายเป็นสีขาว ใบเหลียงมีถิ่นกำเนิดในประเทศสิงคโปร์ในอดีตเป็นผักที่ขึ้นในป่า เจริญเติบโตได้ดีในภูมิอากาศร้อนชื้น ในประเทศไทยพบได้บ่อยบริเวณเชิงเขา โดยในปัจจุบันได้รับความนิยมในการบริโภคเพิ่มขึ้น จึงทำให้มีการนำมาปลูกร่วมกับยาง ใบเหลียงมีรสชาติอร่อย จัดว่าเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ซึ่งนิยมนำมาทานกับอาหารที่มีรสชาติเผ็ดจัด เพราะจะช่วยลดความจัดจ้านของอาหารลงได้ และทำให้ความเผ็ดลดน้อยลงอีกด้วย อีกทั้งเพื่อเพิ่มมูลค่าของใบเหลียงในท้องถิ่นต่อยอดเชิงพาณิชย์ จึงได้คิดค้นการทำผลิตภัณฑ์ ข้าวเกรียบใบเหลียง

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาง อัจฉราวรรณ เศรษฐชะนะ
2. นาง จริยา โลพิศ
3. นางสาว อัญจิรา ไพรัตน์

ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว ศุภิสรา สุขหลังสวน
2. นางสาว มัณฑนา ไตรสิทธิ์
3. นาย พีรศักดิ์ รอดพ้น
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
ข้าวเกรียบใบเหลียง
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ช่วยในเรื่องเสริมสร้างกระดูก และช่วยต่อต้านมะเร็ง มีวิตามิน และแร่ธาติเป็นจำนวนมากช่วยทำให้ร่างกายแข็งแรง ใบเหลียง อุดมไปด้วยสารอาหาร วิตามินและแร่ธาตุ เป็นจำนวนมาก จึงมีประโยชน์ต่อสุขภาพสูง โดยเราได้รวบรวมประโยชน์ของใบเหลียงดังนี้
1. มีประโยชน์ต่อสายตา ใบเหลียงมีสารเบต้าแคโรทีนสูง เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ทรงประสิทธิภาพชนิดหนึ่ง นอกจากนี้ยังเป็นสารตั้งต้นของวิตามินเอ ทำหน้าที่ป้องกันสายตา ทำให้มองเห็นในตอนกลางคืนได้อีกด้วย
2. ช่วยเสริมสร้างกระดูก ใบเหลียงจัดว่าเป็นผักที่มีแคลเซียมสูง ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง ทำให้ระบบการทำงานของร่างกายส่วนต่าง ๆ เป็นไปด้วยดี หากกินเป็นประจำจะช่วยลดกระดูกพรุน หรือกระดูกเปราะบางในวัยผู้สูงอายุ
3. บำรุงหัวใจ
4. ป้องกันมะเร็ง สารต้านอนุมูลอิสระที่มีอยู่ในใบเหลียงจะช่วยป้องกันการเกิดมะเร็ง

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การแปรรูปอาหาร

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 530
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf