ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ ปี 2558
ปัจจุบันสภาพสังคมไทยมีการประกอบอาชีพที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น อาชีพที่มั่นคง อาทิเช่นอาชีพข้าราชการทหาร ตำรวจ ครู อาจารย์ หรือว่าข้าราชการท้องถิ่นทั่วไป เป็นต้น อีกทั้งยังมีอาชีพอื่น ๆ สำหรับบุคคลที่ไม่ได้รับราชการตามที่ได้กล่าวมา อีกมามาย เช่น อาชีพเกษตรกรรม ประมง อุตสาหกรรม หรือแม้แต่วิศวกรรม อีกด้วย ในการประกอบประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับทางวิศวกรรมด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมโยธา หรือแม้แต่วิศวกรรมด้านอื่น ๆ ล้วนแต่ต้องอาศัยเครื่องมือที่ทันสมัยและมีความแม่นยำสูง เพื่อจะให้สิ่งที่เราปลูกสร้าง หรือผลิตขึ้นมามีคุณภาพ และไม่มีผลกระทบการดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์ โดยเครื่องมือต่างที่ใช้ในทางวิศวกรรมด้านต่าง ๆ นั้นมีราคาสูงมาก ซึ่งไม่เหมาะสมกับการประกอบอาชีพของกลุ่มคนที่มีกำลังทรัพย์น้อย อย่างช่างก่อสร้างตามหมู่บ้านทั่วไป ในการประกอบอาชีพของช่างก่อสร้างโดยทั่วไปนั่นอาศัยการใช้เครื่องมืออย่างง่ายที่หาได้ตามทั่วไปแต่ข้อเสียของเครื่องมือเหล่านั้นคือ ความแม่นยำในการวัด เช่น การถ่ายระดับเพื่อจะหาตำแน่งของแต่ละจุดให้อยู่ในระดับเดียวกันนั้น ช่างตามหมู่บ้านโดยทั่วไปจะอาศัยการถ่ายระดับโดยใช้สายระดับน้ำในการถ่ายระดับจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ถ้าเกินระยะทางที่ไกลมากต้องอาศัยการถ่ายระดับหลายหลายครั้ง เพื่อจะให้ระดับ ณ จุดแรก กับจุดสุดท้ายเท่ากัน ซึ่งอาเกิดผลเสียในทางวิศวกรรม อันเนื่องความผิดพลาด หรือความคลาดเคลื่อนได้ ถ้าจะใช้อุปกรณ์ที่มีความแม่นยำสูงก่อมีราคาแพงเกินกำลังทรัพย์ของช่างชาวบ้านจำจะหาซื้ออุปกรณ์ดังกล่าว ดังนั้นทางผู้จัดทำผลงานสิ่งประดิษฐ์จึงได้ศึกษา ออกแบบและจัดทำอุปกรณ์ให้มีความปลอดภัย มีผลกรทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในค่าที่ไม่เกินมาตรฐาน มีขนาด น้ำหนัก และเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับการใช้งานที่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม โดยมีการออกแบบและปรึกษาจากผู้เชียวชาญที่มีความรู้ทางวิศวกรรมด้านการก่อสร้าง และทำการทดสอบหาประสิทธิภาพของเครื่องมือโดยการ ศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องมือจากกลุ่มวิศวกรที่เชี่ยวชาญด้านการก่อสร้าง จำนวน 5 คน พบว่า การจับเวลาในการถ่ายระดับแบบใช้สายระดับน้ำในระยะทาง 100 เมตร ใช้เวลาเฉลี่ยที่ 29.30 นาที ส่วนระยะเวลาในการถ่ายระดับระยะทาง 100 เมตร โดยใช้อุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคาร ได้ค่าเฉลี่ยของเวลาคือ 7.25 นาที ซึ่งอุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคารสามารถทำงานได้เร็วกว่าการถ่ายระดับแบบใช้สายถ่ายระดับ 22.05 นาที นาที หรือเร็วกว่า 4.04 เท่า และได้นำอุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคารไปให้ช่างก่อสร้างโดยทั่วไปทดลองใช้ จำนวน 20 คน พบว่า มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมต่ออุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคาร มีค่าเฉลี่ยที่ 4.86 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย กรวิชญ์ คำมา
2. นาย เฉลิมวุฒิ ดวงสุข
3. นาย ขวัญ คำลือ
4. นาย มนัส กลิ่นหอม
5. นาย จักรกริช กิ่งแก้ว
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย ระชา หายทุกข์
2. นาย พีรพล ใจทา
3. นาย บงกช ศรีขันทะ
ปัจจุบันสภาพสังคมไทยมีการประกอบอาชีพที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น อาชีพที่มั่นคง อาทิเช่นอาชีพข้าราชการทหาร ตำรวจ ครู อาจารย์ หรือว่าข้าราชการท้องถิ่นทั่วไป เป็นต้น อีกทั้งยังมีอาชีพอื่น ๆ สำหรับบุคคลที่ไม่ได้รับราชการตามที่ได้กล่าวมา อีกมามาย เช่น อาชีพเกษตรกรรม ประมง อุตสาหกรรม หรือแม้แต่วิศวกรรม อีกด้วย ในการประกอบประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับทางวิศวกรรมด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมโยธา หรือแม้แต่วิศวกรรมด้านอื่น ๆ ล้วนแต่ต้องอาศัยเครื่องมือที่ทันสมัยและมีความแม่นยำสูง เพื่อจะให้สิ่งที่เราปลูกสร้าง หรือผลิตขึ้นมามีคุณภาพ และไม่มีผลกระทบการดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์ โดยเครื่องมือต่างที่ใช้ในทางวิศวกรรมด้านต่าง ๆ นั้นมีราคาสูงมาก ซึ่งไม่เหมาะสมกับการประกอบอาชีพของกลุ่มคนที่มีกำลังทรัพย์น้อย อย่างช่างก่อสร้างตามหมู่บ้านทั่วไป ในการประกอบอาชีพของช่างก่อสร้างโดยทั่วไปนั่นอาศัยการใช้เครื่องมืออย่างง่ายที่หาได้ตามทั่วไปแต่ข้อเสียของเครื่องมือเหล่านั้นคือ ความแม่นยำในการวัด เช่น การถ่ายระดับเพื่อจะหาตำแน่งของแต่ละจุดให้อยู่ในระดับเดียวกันนั้น ช่างตามหมู่บ้านโดยทั่วไปจะอาศัยการถ่ายระดับโดยใช้สายระดับน้ำในการถ่ายระดับจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ถ้าเกินระยะทางที่ไกลมากต้องอาศัยการถ่ายระดับหลายหลายครั้ง เพื่อจะให้ระดับ ณ จุดแรก กับจุดสุดท้ายเท่ากัน ซึ่งอาเกิดผลเสียในทางวิศวกรรม อันเนื่องความผิดพลาด หรือความคลาดเคลื่อนได้ ถ้าจะใช้อุปกรณ์ที่มีความแม่นยำสูงก่อมีราคาแพงเกินกำลังทรัพย์ของช่างชาวบ้านจำจะหาซื้ออุปกรณ์ดังกล่าว ดังนั้นทางผู้จัดทำผลงานสิ่งประดิษฐ์จึงได้ศึกษา ออกแบบและจัดทำอุปกรณ์ให้มีความปลอดภัย มีผลกรทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในค่าที่ไม่เกินมาตรฐาน มีขนาด น้ำหนัก และเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับการใช้งานที่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม โดยมีการออกแบบและปรึกษาจากผู้เชียวชาญที่มีความรู้ทางวิศวกรรมด้านการก่อสร้าง และทำการทดสอบหาประสิทธิภาพของเครื่องมือโดยการ ศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องมือจากกลุ่มวิศวกรที่เชี่ยวชาญด้านการก่อสร้าง จำนวน 5 คน พบว่า การจับเวลาในการถ่ายระดับแบบใช้สายระดับน้ำในระยะทาง 100 เมตร ใช้เวลาเฉลี่ยที่ 29.30 นาที ส่วนระยะเวลาในการถ่ายระดับระยะทาง 100 เมตร โดยใช้อุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคาร ได้ค่าเฉลี่ยของเวลาคือ 7.25 นาที ซึ่งอุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคารสามารถทำงานได้เร็วกว่าการถ่ายระดับแบบใช้สายถ่ายระดับ 22.05 นาที นาที หรือเร็วกว่า 4.04 เท่า และได้นำอุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคารไปให้ช่างก่อสร้างโดยทั่วไปทดลองใช้ จำนวน 20 คน พบว่า มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมต่ออุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคาร มีค่าเฉลี่ยที่ 4.86 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย กรวิชญ์ คำมา
2. นาย เฉลิมวุฒิ ดวงสุข
3. นาย ขวัญ คำลือ
4. นาย มนัส กลิ่นหอม
5. นาย จักรกริช กิ่งแก้ว
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย ระชา หายทุกข์
2. นาย พีรพล ใจทา
3. นาย บงกช ศรีขันทะ
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
อุปกรณ์ถ่ายระดับภายในและภายนอกอาคาร
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
อุปกรณ์ถ่ายระดับการก่อสร้างภายในและภายนอกอาคาร ออกแบบและจัดสร้างขึ้นโดยอาศัยหลักการทำงานของลำแสงเลเซอร์ที่มีสมบัติดารเบี่ยงเบน การแทรกสอด และการหักเห น้อยมาก ซึ่งเป็นผลดีที่ลำแสงจะมีความเที่ยงตรง และใช้ลำแสงของเซอร์เป็นตัวถ่ายระดับ จากจุดเริ่มต้น ไปยังจุดอื่น ๆ ที่ระทางไกล ยังลดเวลา เพิ่มความแม่นยำและเที่ยงตรงในการถ่ายระดับ มากกว่าการใช้อุปกรณ์ถ่ายระดับของช่างก่อสร้างตามหมู่บ้านโดยทั่วไป 1สามารถถ่ายระดับระทางที่เกิน 100 เมตรได้ในครั้งเดียว 2เป็นอุปกรณ์ที่มีความแม่นยำในการถ่ายระดับสูง 3เป็นอุปกรณ์ที่มีน้ำหนักเหมาะสมกับการใช้งาน มีความคงทนแข็งแรง 4เป็นอุปกรณ์ที่ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในค่าไม่เกินระดับมาตรฐาน

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 275
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf