ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านการแพทย์และชีวอนามัย ปี 2558
ปัจจุบันมีผู้ป่วยพักฟื้นที่ต้องรักษาตัวที่บ้านและโรงพยาบาลเป็นจำนวนมาก ซึ่งรวมถึงผู้สูงอายุ โดยที่บุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่ต้องนอนรักษาตัวเองตลอดเวลา และไม่สามารถช่วยเหลือตนเองในการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถลุกนั่งได้ จำเป็นต้องให้ผู้ดูแลพยุงขึ้นนั่งและหาอุปกรณ์มาให้ผู้ป่วยพิงหลัง เช่น หมอน หมอนอิง เป็นต้น แต่มีปัญหาในการลื่นไถลของอุปกรณ์ที่ใช้ พิงหลัง และไม่สามารถปรับระดับการพิงได้ ซึ่งการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้น ที่เน้นการใช้งานอุปกรณ์ได้ง่าย ไม่ลื่นไถลในระหว่างพิง ปรับระดับการพิงได้ มีน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก จะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ และส่งผลให้ผู้ป่วยพักฟื้นและผู้สูงอายุ มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นจากการได้ผ่อนคลายอิริยาบถ
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นางสาว แสงเดือน เพชรผดุง
2. นาย ปัญจพร พฤกษชาติ
3. นาย วัชระ แก้วพรหม
4. นาย เพียร ประทุม
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย จิรายุส สาระไทย
2. นาย วรากร แสงทอง
3. นาย อภิชาณ์ บำเพ็ญ
4. นาย กิตติธัช บำเพ็ญ
5. นางสาว ประภัสสร หล้าบุดดา
6. นางสาว จรัญญา ไชยสุวรรณ
7. นาย ชัชวาล พึ่งหนู
8. นาย เลอภพ ชายผา
9. นาย พิชิต สงวนดีกุล
10. นาย เสนีย์ โพธิ์ตาด
ปัจจุบันมีผู้ป่วยพักฟื้นที่ต้องรักษาตัวที่บ้านและโรงพยาบาลเป็นจำนวนมาก ซึ่งรวมถึงผู้สูงอายุ โดยที่บุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่ต้องนอนรักษาตัวเองตลอดเวลา และไม่สามารถช่วยเหลือตนเองในการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถลุกนั่งได้ จำเป็นต้องให้ผู้ดูแลพยุงขึ้นนั่งและหาอุปกรณ์มาให้ผู้ป่วยพิงหลัง เช่น หมอน หมอนอิง เป็นต้น แต่มีปัญหาในการลื่นไถลของอุปกรณ์ที่ใช้ พิงหลัง และไม่สามารถปรับระดับการพิงได้ ซึ่งการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้น ที่เน้นการใช้งานอุปกรณ์ได้ง่าย ไม่ลื่นไถลในระหว่างพิง ปรับระดับการพิงได้ มีน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก จะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ และส่งผลให้ผู้ป่วยพักฟื้นและผู้สูงอายุ มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นจากการได้ผ่อนคลายอิริยาบถ
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นางสาว แสงเดือน เพชรผดุง
2. นาย ปัญจพร พฤกษชาติ
3. นาย วัชระ แก้วพรหม
4. นาย เพียร ประทุม
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย จิรายุส สาระไทย
2. นาย วรากร แสงทอง
3. นาย อภิชาณ์ บำเพ็ญ
4. นาย กิตติธัช บำเพ็ญ
5. นางสาว ประภัสสร หล้าบุดดา
6. นางสาว จรัญญา ไชยสุวรรณ
7. นาย ชัชวาล พึ่งหนู
8. นาย เลอภพ ชายผา
9. นาย พิชิต สงวนดีกุล
10. นาย เสนีย์ โพธิ์ตาด
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้น
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
• มีขนาดกว้าง
• 5 ซม. ยาว
• 0 ซม. ระยะเลื่อน
• 0 ซม. และ สูง 75 ซม.
• ปรับระดับพนักพิงได้
• ระดับ (มุมเอนของพนักพิงตั้งแต่ 90 - 135 องศา) ระดับ 0 พนักพิงทำมุม 90 องศา ระดับ 1 พนักพิงทำมุม 105 องศา ระดับ
• พนักพิงทำมุม 120 องศา ระดับ
• พนักพิงทำมุม 135 องศา
• เหมาะสำหรับการช่วยเหลือผู้ป่วยพักฟื้นและผู้สูงอายุที่ไม่สามารถพยุงตัวนั่งได้ด้วยตนเอง
• สามารถช่วยพยุงนั่งและไม่ลื่นไถลในระหว่างการใช้งาน
• มีน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก 1อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ และช่วยอำนวยความสะดวกในการดูผู้ป่วยพักฟื้นและผู้สูงอายุ
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการออกแบบอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับมิติขนาดร่างกายของมนุษย์ (Anthropometric Data) ทำให้ช่วยส่งเสริมให้ผู้นั่งมีท่าทางทรวดทรงการนั่งที่ถูกต้อง หรือท่าทางการนั่งที่สมดุลตามธรรมชาติของลำกระดูกสันหลังที่เรียงตัวเป็นรูปตัวอักษรอังกฤษตัว “S”
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการออกแบบอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับหลักการทางด้านความสะดวกสบาย (Comfort Principles) โดยมีแผ่นหรือพนักพิงหลังส่วนเอว ให้มีขนาด มีความเหมาะสม สอดรับเข้าพอดีกับรูปทรงของหลัง เพื่อให้การนั่งมีความสุขและความปลอดภัย และเพื่อช่วยบรรเทาหรือลดปริมาณความเค้นและความเครียดที่เกิดขึ้นกับกล้ามเนื้อต้นขา กล้ามเนื้อหลัง กล้ามเนื้อหัวไหล่และกล้ามเนื้อต้นคอให้มีน้อยลงในขณะนั่ง
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการออกแบบอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับวิทยาการทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Hygiene) ทำให้ไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อผู้ใช้งานและสิ่งแวดล้อม
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการประเมินของผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู หรืออายุรแพทย์ และได้ทำการปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญก่อนนำไปทดลองใช้จริง 6อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น มีลักษณะการใช้งานที่เหมาะสม สำหรับการช่วยเหลือผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ไม่สามารถพยุงตัวนั่งได้ด้วยตนเอง สามารถช่วยพยุงนั่งได้โดยไม่ลื่นไถล ปรับระดับความลาดเอียงของพนักพิงได้
• ระดับ มีน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก
• 5 ซม. ยาว
• 0 ซม. ระยะเลื่อน
• 0 ซม. และ สูง 75 ซม.
• ปรับระดับพนักพิงได้
• ระดับ (มุมเอนของพนักพิงตั้งแต่ 90 - 135 องศา) ระดับ 0 พนักพิงทำมุม 90 องศา ระดับ 1 พนักพิงทำมุม 105 องศา ระดับ
• พนักพิงทำมุม 120 องศา ระดับ
• พนักพิงทำมุม 135 องศา
• เหมาะสำหรับการช่วยเหลือผู้ป่วยพักฟื้นและผู้สูงอายุที่ไม่สามารถพยุงตัวนั่งได้ด้วยตนเอง
• สามารถช่วยพยุงนั่งและไม่ลื่นไถลในระหว่างการใช้งาน
• มีน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก 1อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ และช่วยอำนวยความสะดวกในการดูผู้ป่วยพักฟื้นและผู้สูงอายุ
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการออกแบบอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับมิติขนาดร่างกายของมนุษย์ (Anthropometric Data) ทำให้ช่วยส่งเสริมให้ผู้นั่งมีท่าทางทรวดทรงการนั่งที่ถูกต้อง หรือท่าทางการนั่งที่สมดุลตามธรรมชาติของลำกระดูกสันหลังที่เรียงตัวเป็นรูปตัวอักษรอังกฤษตัว “S”
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการออกแบบอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับหลักการทางด้านความสะดวกสบาย (Comfort Principles) โดยมีแผ่นหรือพนักพิงหลังส่วนเอว ให้มีขนาด มีความเหมาะสม สอดรับเข้าพอดีกับรูปทรงของหลัง เพื่อให้การนั่งมีความสุขและความปลอดภัย และเพื่อช่วยบรรเทาหรือลดปริมาณความเค้นและความเครียดที่เกิดขึ้นกับกล้ามเนื้อต้นขา กล้ามเนื้อหลัง กล้ามเนื้อหัวไหล่และกล้ามเนื้อต้นคอให้มีน้อยลงในขณะนั่ง
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการออกแบบอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับวิทยาการทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Hygiene) ทำให้ไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อผู้ใช้งานและสิ่งแวดล้อม
• อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น ได้ผ่านการประเมินของผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู หรืออายุรแพทย์ และได้ทำการปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญก่อนนำไปทดลองใช้จริง 6อุปกรณ์ช่วยพยุงนั่งสำหรับผู้ป่วยพักฟื้นที่สร้างขึ้น มีลักษณะการใช้งานที่เหมาะสม สำหรับการช่วยเหลือผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ไม่สามารถพยุงตัวนั่งได้ด้วยตนเอง สามารถช่วยพยุงนั่งได้โดยไม่ลื่นไถล ปรับระดับความลาดเอียงของพนักพิงได้
• ระดับ มีน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายได้สะดวก

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 264
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf