ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ปี 2557
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตสบู่ถ่านไม้ไผ่ โดยมีขั้นตอนการศึกษาวิจัย 3 ขั้นตอน คือ การผลิตถ่านไม้ไผ่ การตรวจสอบประสิทธิภาพสบู่ถ่านไม้ไผ่ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ตรวจสอบประสิทธิภาพสบู่ถ่านไม้ไผ่ เป็นครูผู้สอนและนักศึกษาระดับชั้น ปวส. แผนกการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคคูเมือง จำนวน 23 คน เป็นคณะครูผู้ทำการสอน จำนวน 5 คน และนักศึกษาจำนวน 8 คน เลือกแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ เป็นประชาชนทั่วไป ในอำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมินประสิทธิภาพ และแบบสอบถามความ สรุปผลการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้คณะผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ 1ผลการทำสบู่ถ่านไม้ไผ่ คณะผู้จัดทำได้ทำสบู่ถ่านไม้ไผ่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาสบู่ถ่านไม่ไผ่ มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตสบู่ถ่านไม้ไผ่ ตรวจสอบประสิทธิภาพของสบู่ถ่านไม้ไผ่ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ ผู้วิจัยขอนำเสนอผลการศึกษาโดยเรียงลำดับตามวัตถุประสงค์ 2ผลประสิทธิภาพของสบู่ถ่านไม้ไผ่ ประสิทธิภาพของสบู่ถ่านไม้ไผ่ ในสภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนในรายละเอียดพบว่าขนาดและรูปร่างความปราณีตสวยงามของสบู่จากถ่านไม้ไผ่มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด รูปแบบของสบู่ถ่านไม้ไผ่อยู่ใน ระดับมากที่สุด 3ผลการศึกษาความพึงพอใจในการใช้สบู่จากถ่านไม้ไผ่ ผลการสอบถามความพึงพอใจในการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ ด้านประสิทธิภาพในการใช้สบู่ พบว่าสบู่จากถ่านไม้ไผ่ เพื่อเป็นของฝากที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ สร้างความประทับใจให้แก่ผู้รับได้เป็นอย่างดี
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย ประถมจักรี สียางนอก
2. นางสาว ธัญญาภัทร จิตต์กลาง
3. นางสาว ณัฐระดาพร อาทิตย์ตั้ง
4. นางสาว ศิริพร วงศ์ประสิทธิ์
5. นาง ฉันทนา ภูทอง
ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว อนุชิดา สิทธิศรีจันทร์
2. นางสาว สุภาวดี สาลีอาจ
3. นางสาว พัชรีพร อวนมาก
4. นางสาว ผกายวรรณ มะลิรัมย์
5. นางสาว รัตนา ช่างต่อ
6. นางสาว แพรวนภา จุนสำโรง
7. นางสาว ทัศนีย์ ตองติดรัมย์
8. นางสาว จารุวรรณ ธรรมธุระ
9. นางสาว ฐาปนี มะกาว
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตสบู่ถ่านไม้ไผ่ โดยมีขั้นตอนการศึกษาวิจัย 3 ขั้นตอน คือ การผลิตถ่านไม้ไผ่ การตรวจสอบประสิทธิภาพสบู่ถ่านไม้ไผ่ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ตรวจสอบประสิทธิภาพสบู่ถ่านไม้ไผ่ เป็นครูผู้สอนและนักศึกษาระดับชั้น ปวส. แผนกการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคคูเมือง จำนวน 23 คน เป็นคณะครูผู้ทำการสอน จำนวน 5 คน และนักศึกษาจำนวน 8 คน เลือกแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ เป็นประชาชนทั่วไป ในอำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมินประสิทธิภาพ และแบบสอบถามความ สรุปผลการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้คณะผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ 1ผลการทำสบู่ถ่านไม้ไผ่ คณะผู้จัดทำได้ทำสบู่ถ่านไม้ไผ่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาสบู่ถ่านไม่ไผ่ มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตสบู่ถ่านไม้ไผ่ ตรวจสอบประสิทธิภาพของสบู่ถ่านไม้ไผ่ และศึกษาความพึงพอใจในการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ ผู้วิจัยขอนำเสนอผลการศึกษาโดยเรียงลำดับตามวัตถุประสงค์ 2ผลประสิทธิภาพของสบู่ถ่านไม้ไผ่ ประสิทธิภาพของสบู่ถ่านไม้ไผ่ ในสภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนในรายละเอียดพบว่าขนาดและรูปร่างความปราณีตสวยงามของสบู่จากถ่านไม้ไผ่มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด รูปแบบของสบู่ถ่านไม้ไผ่อยู่ใน ระดับมากที่สุด 3ผลการศึกษาความพึงพอใจในการใช้สบู่จากถ่านไม้ไผ่ ผลการสอบถามความพึงพอใจในการใช้สบู่ถ่านไม้ไผ่ ด้านประสิทธิภาพในการใช้สบู่ พบว่าสบู่จากถ่านไม้ไผ่ เพื่อเป็นของฝากที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ สร้างความประทับใจให้แก่ผู้รับได้เป็นอย่างดี
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย ประถมจักรี สียางนอก
2. นางสาว ธัญญาภัทร จิตต์กลาง
3. นางสาว ณัฐระดาพร อาทิตย์ตั้ง
4. นางสาว ศิริพร วงศ์ประสิทธิ์
5. นาง ฉันทนา ภูทอง
ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว อนุชิดา สิทธิศรีจันทร์
2. นางสาว สุภาวดี สาลีอาจ
3. นางสาว พัชรีพร อวนมาก
4. นางสาว ผกายวรรณ มะลิรัมย์
5. นางสาว รัตนา ช่างต่อ
6. นางสาว แพรวนภา จุนสำโรง
7. นางสาว ทัศนีย์ ตองติดรัมย์
8. นางสาว จารุวรรณ ธรรมธุระ
9. นางสาว ฐาปนี มะกาว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
สบู่ถ่านไม้ไผ่
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
• ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
• สร้างผลิตภัณฑ์ชิ้นใหม่ที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ในท้องตลาด
• นักศึกษามีความสนใจในการทำ
• นักศึกษามีความสามัคคีในหมู่คณะ
• ส่งเสริมรายได้และทักษะการขายที่ดี
• สร้างผลิตภัณฑ์ชิ้นใหม่ที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ในท้องตลาด
• นักศึกษามีความสนใจในการทำ
• นักศึกษามีความสามัคคีในหมู่คณะ
• ส่งเสริมรายได้และทักษะการขายที่ดี

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 544
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf