ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ปี 2560
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง เพื่อศึกษาสูตรมาตรฐานที่ผู้ทดสอบให้การยอมรับผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง ศึกษาปริมาณเต้าหู้ยี้ที่เหมาะสมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง และศึกษาปริมาณผงแคลเซียมจากกระดูกปลากะพงที่เหมาะสมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง ผลการทดลองที่ 1 การศึกษาสูตรมาตรฐานผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลือง พบว่า สูตรที่ 3 ส่วนผสมประกอบด้วย กากถั่วเหลือง 150 กรัม เต้าหู้ยี้ 160 กรัม แป้งหมี่กึ๋น 50 กรัม ได้รับคะแนนการยอมรับด้านความชอบรวมมากที่สุด ได้คะแนนเท่ากับ 7.5 ผลการทดลองที่ 2 การศึกษาปริมาณเต้าหู้ยี้ปริมาณ 60 80 และ 100 กรัม พบว่าผู้ทดสอบให้คะแนนความชอบรวมมากที่สุด คือการเติมเต้าหู้ยี้ 60 กรัม ได้คะแนนเท่ากับ 6.3 และผลการทดลองที่ 3 การศึกษาปริมาณผงแคลเซียมจากกระดูกปลากะพง ปริมาณ 10 20 และ 30 กรัม พบว่าผู้ทดสอบให้คะแนนความชอบรวมมากที่สุด คือการเติมผงแคลเซียมจากกระดูกปลากะพง 10 กรัม ได้คะแนนเท่ากับ 7.0
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย สราวุธ จินดาเพ็ชร
2. นาง จิราภรณ์ พันธุ์อำไพ
3. นาง อรอนงค์ ศิลป์สาย
4. นาย อภิพงศ์ วงศ์เกียรติกุล
5. นางสาว อาทิตวรรณ ต่วนศิริ
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย สิทธินนท์ เพ็ชรมณี
2. นางสาว วรัญญา งามดี
3. นางสาว พิยดา สุกจันทร์
4. นางสาว อารยา แสงทอง
5. นางสาว นภัสสร แก้วกุน
6. นางสาว วรรณวลี ม่วงก่อเกื้อ
7. นางสาว อรอุมา จันทร์ปาน
8. นาย พีรพัฒน์ สุวรรณโชติ
9. นางสาว นัยนา มะเนาะ
10. นางสาว สุจิตรา ใจดี
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง เพื่อศึกษาสูตรมาตรฐานที่ผู้ทดสอบให้การยอมรับผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง ศึกษาปริมาณเต้าหู้ยี้ที่เหมาะสมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง และศึกษาปริมาณผงแคลเซียมจากกระดูกปลากะพงที่เหมาะสมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง ผลการทดลองที่ 1 การศึกษาสูตรมาตรฐานผลิตภัณฑ์ปลาเค็มถั่วเหลือง พบว่า สูตรที่ 3 ส่วนผสมประกอบด้วย กากถั่วเหลือง 150 กรัม เต้าหู้ยี้ 160 กรัม แป้งหมี่กึ๋น 50 กรัม ได้รับคะแนนการยอมรับด้านความชอบรวมมากที่สุด ได้คะแนนเท่ากับ 7.5 ผลการทดลองที่ 2 การศึกษาปริมาณเต้าหู้ยี้ปริมาณ 60 80 และ 100 กรัม พบว่าผู้ทดสอบให้คะแนนความชอบรวมมากที่สุด คือการเติมเต้าหู้ยี้ 60 กรัม ได้คะแนนเท่ากับ 6.3 และผลการทดลองที่ 3 การศึกษาปริมาณผงแคลเซียมจากกระดูกปลากะพง ปริมาณ 10 20 และ 30 กรัม พบว่าผู้ทดสอบให้คะแนนความชอบรวมมากที่สุด คือการเติมผงแคลเซียมจากกระดูกปลากะพง 10 กรัม ได้คะแนนเท่ากับ 7.0
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย สราวุธ จินดาเพ็ชร
2. นาง จิราภรณ์ พันธุ์อำไพ
3. นาง อรอนงค์ ศิลป์สาย
4. นาย อภิพงศ์ วงศ์เกียรติกุล
5. นางสาว อาทิตวรรณ ต่วนศิริ
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย สิทธินนท์ เพ็ชรมณี
2. นางสาว วรัญญา งามดี
3. นางสาว พิยดา สุกจันทร์
4. นางสาว อารยา แสงทอง
5. นางสาว นภัสสร แก้วกุน
6. นางสาว วรรณวลี ม่วงก่อเกื้อ
7. นางสาว อรอุมา จันทร์ปาน
8. นาย พีรพัฒน์ สุวรรณโชติ
9. นางสาว นัยนา มะเนาะ
10. นางสาว สุจิตรา ใจดี
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
ปลาเค็มถั่วเหลืองแคลเซียมสูง
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
ตรวจวิเคราะห์คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช.ปลาเค็ม 312/2549 ของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ณ ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออก คณะอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลการวิเคราะห์ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด ยีสต์และรา (Yeast & Mold count)
• 3x103 สตาฟิโลค๊อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) < 10 CFU/g เอสเชอริเชีย โคไล (Escherichia coli) < 3 MPN/g
• เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตจากการเกษตรคือถั่วเหลือง โดยการนำกากถั่วเหลืองมาใช้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
• เพิ่มความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองให้มากขึ้น และเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ไม่มีน้ำมัน ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรค
• ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเนื่องจากไม่มีน้ำมัน มีคุณค่าทางอาหารสูง เส้นใยอาหารสูง และแคลเซียมสูง เหมาะสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทุกเพศ ทุกวัย
• 3x103 สตาฟิโลค๊อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) < 10 CFU/g เอสเชอริเชีย โคไล (Escherichia coli) < 3 MPN/g
• เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตจากการเกษตรคือถั่วเหลือง โดยการนำกากถั่วเหลืองมาใช้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
• เพิ่มความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองให้มากขึ้น และเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ไม่มีน้ำมัน ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรค
• ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเนื่องจากไม่มีน้ำมัน มีคุณค่าทางอาหารสูง เส้นใยอาหารสูง และแคลเซียมสูง เหมาะสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทุกเพศ ทุกวัย

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การแปรรูปอาหาร
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 84
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf