ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ปี 2560

การประดิษฐ์ผลงานสิ่งประดิษฐ์ น้ำมันนวดพริก ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาการทำน้ำมันนวดพริก 2. ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อน้ำมันนวดพริก โดยได้นำมาพัฒนาสูตร 4 สูตร คือ สูตรที่ 1 สูตรที่ 2 สูตรที่ 3 และสูตรที่ 4 โดยมีอัตราส่วนผสมที่ต่างกัน ทดสอบความพึงพอใจของผู้บริโภค จำแนกตาม เพศ อาชีพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนที่อยู่ในอำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญหรือตามความสะดวก จำนวน 30 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ยเลขคณิต ผลการวิจัยพบว่า ระดับความพึงพอใจโดยรวมของผู้บริโภคที่มีต่อน้ำมันนวดพริกมากที่สุด ได้แก่ สูตรที่ 4 ( =4.41)

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นางสาว ณทัดตา สงวนพวก

ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว กฤษณา สิงห์คะ
2. นางสาว ณัฐกาน กลมกล่อม
3. นาย ยศวริศ เสนาทม
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
น้ำมันนวดพริก
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
ใช้ดม ทา-นวด บรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ อาการคันจากแมลงสัตว์กัดต่อย นวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ข้อบ่งใช้ : ทาน้ำมันนวดพริกลงบนบริเวณที่มีปัญหา ถูนวดเบาๆ ตอนเพิ่งเริ่มทาใหม่ๆ จะยังไม่รู้สึกร้อน หลังจากทาน้ำมันประมาณ 10 นาที จะร้อนขึ้นเรื่อยๆ การทาน้ำมันพริก ควรทาทีละน้อยๆ เพื่อปรับร่างกายให้มีความทนต่อความแสบร้อนของพริกได้ เมื่อร่างกายเคยชินแล้วจึงค่อยปรับปริมาณขึ้น อาการไม่พึงประสงค์ : มีอาการแสบร้อน หรือผื่นบริเวณที่ทา (หากมีอาการแสบร้อนให้ทาโลชั่นหรือครีมบำรุงผิวชนิดใดก็ได้ หรือน้ำมันมะพร้าวบนผิวหนังที่มีอาการ แต่ในกรณีที่มีผื่นขึ้นบริเวณผิวหนังที่ทาให้หยุดใช้ทันที ข้อควรระวัง
• ผู้ที่มีอาการแพ้พริกเกิดผื่นแดงแสบมากควรหยุดใช้ยา
• ห้ามทาในบริเวณเนื้อเยื่อที่บอบบางหรือมีน้ำเมือก เช่น บริเวณตา แผลสด ต้นคอ ข้อพับที่บอบบาง
• ห้ามใช้ร่วมกับการประคบร้อน เช่น ทายาแล้วโปะกระเป๋าน้ำร้อน
• ผู้ที่มีอาการแพ้เมทิลซาลิไซเลต หรือน้ำมันระกำ (Methyl Salicylate) ควรปรึกษาแพทย์ ประโยชน์ : ใช้ร่วมกับการนวดช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อจากความเมื่อยล้า บรรเทาอาการแมลงสัตว์กัดต่อย สูดดมเพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศรีษะ

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 135
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf