ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ปี 2563

การวิจัยเรื่องปุ๋ยอินทรีย์จากมูลนกกระทา จัดทำขึ้นเพื่อหาประสิทธิภาพของปุ๋ยมูลนกกระทาสูตร 1 สูตร 2 สูตร 3และหาความพึงพอใจของปุ๋ยมูลนกกระทาจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 20 คน โดยจัดทำปุ๋ยมูลนกกระทาจำนวน 3 สูตรและจัดให้กลุ่มผู้ใช้จากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 20 คน เนื่องจากปัจจุบันมีผู้คนหันมาทำการเกษตรมากมายและเกษตรกรเหล่านั้นได้ใช้ปุ๋ยเคมีด้วยกันทั้งสิ้นมีผลทำให้ดินบริเวณนั้นเสื่อมสภาพลงที่สำคัญปุ๋ยเหล่านั้นมีราคาแพงทำให้เพิ่มต้นทุนในการทำเกษตรเพื่อให้เกษตรกรได้ลดภาระค่าใช้จ่ายลลงและบำรุงคุณภาพดินให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ดังเดิมจึงได้จัดทำปุ๋ยอินทรีย์จากมูลนกกระทาขึ้น และนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ยโดยรวมซึ่งกลุ่มผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อปุ๋ยมูลนกกระทาสูตรที่ 3 มากที่สุดและมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.29 รองลงมาคือปุ๋ยมูลนกกระทาสูตรที่ 2 และ 1 ตามลำดับ

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาง ณัชรินทร์ หวันทา
2. นาง ณัฐชรินทร์ หวันทา
3. นาย นภพล รัตนสุนทร
4. นาง ดวงพร ราษฎร์เจริญ
5. นางสาว ตรีรัตน์ ทองเปลว

ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว วิลาวรรณ บังเกิด
2. นางสาว ชุติมณน์ กลั่นประสิทธิ์
3. นางสาว นุจรี ขาวจวง
4. นางสาว สุภาวณี ธงขาว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
ปุ๋ยอินทรีย์จากมูลนกกระทา
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
นกกระทาเป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่งที่ปัจจุบันนิยมเลี้ยงกันเพื่อบริโภคเนื้อและไข่ นกกระทามีความผูกพันกับมนุษย์มาอย่างช้านาน ด้วยการใช้เนื้อและไข่บริโภคเป็นอาหาร เช่น ไข่นกกระทาครก นกกระทาทอด นกกระทาหัน นกกระทาหมุน ฯลฯ อีกทั้งยังเป็นสัตว์ลำไส้สั้น อาหารที่กินก็จะเป็นพวกปลาป่น กากถั่ว รำ ข้าวโพด ทำให้มูลของนกกระทามีธาตุอาหารจำเป็นต่อพืชจำนวนมาก โดยเฉพาะไนโตรเจนและฟอสฟอรัส มูลนกกระทาจะมี ธาตุในโตรเจนสูงมาก ถึง 9% สูงกว่าขี้ไก่ ขี้หมู และขี้วัว ปุ๋ยประเภทนี้จะเหมาะสำหรับต้นไม้ทุกประเภทโดยเฉพาะ ไม้ใบ สนามหญ้า และผลไม้ เมื่อเกษตรทำการใส่ปุ๋ยมูลนกกระทาไปแล้ว จะเห็นผลภายใน 5-7 วัน ต้นไม้จะมีสีเขียวสด ต้นไม้ดูเขียวสดใส ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -ทำให้ทราบผลการเจริญเติบโตของผักบุ้งในปุ๋ยมูลนกกระทาสูตร 1 สูตร 2 และสูตร 3 - ทำให้ทราบความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อปุ๋ยมูลนกกระทาสูตร 1 สูตร 2 และสูตร 3 -เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับมูลนกกระทา

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 1168
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf