ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีด้านการเกษตร ปี 2558
โครงการ เครื่องวัดความชื้น อุณหภูมิ และแร่ธาตุในดินได้สร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาด้านเกษตรกรรมในเรื่องของการเพาะปลูกพืช จากการจัดสภาพดินหรือสภาพแวดล้อมที่ใช้สำหรับการเพาะปลูกนั้นอาจไม่มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ทำให้ผลการเจริญเติบโตที่ได้มีความผิดพลาดหรือไม่มีความสมบูรณ์ โดยคณะผู้จัดทำมุ่งหวังที่จะใช้ เครื่องวัดความชื้น อุณหภูมิ และแร่ธาตุในดิน ลดปัญหาของการเพาะปลูกอันเกิดจากการปรับสภาพแวดล้อมดินไม่เหมาะสม ภายในตัวชิ้นงานประกอบไปด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับสั่งการและประมวลผลเป็นไมโครคอนโทรลเลอร์บอร์ด arduino mega 2560 จะทำการรับค่าแรงดันจากเซ็นเซอร์แต่ละตัวมาเพื่อประมวลผลและส่งไปแสดงผลที่จอ LCD TFT 1.8 โดยเซ็นเซอร์ที่จะใช้สำหรับวัดค่าความชื้นจะเป็นเซ็นเซอร์ Soil (Moisture) Sensor เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิเป็น DHT21 และเซ็นเซอร์วัดแร่ธาตุในดินจะมาจากเครื่องวัดดิน แบบ 4in1 โดยจะทำการนำแรงดันที่วัดได้มาประมวลผลใน arduino แล้วแสดงผลผ่านจอ LCD TFT 1.8 เมื่อดำเนินการสร้างเสร็จ นำไปทดลอง โดยการใช้เครื่องวัดสภาพดินแบบต่างๆ แล้วสังเกตว่ามีความถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ โดยความชื้นจะเป็นการทดสอบการตอบสนองของเซ็นเซอร์ในดินที่มีความชื้นแตกต่างกัน อุณหภูมิจะเป็นการทดสอบเปรียบเทียบความแม่นยำกับปรอทแล้วสังเกตว่าค่าทีได้คาดเคลื่อนมากเพียงใด และการวัดแร่ธาตุในดินโดยทดสอบกับดินที่มีสภาพแร่ธาตุสารอาหารที่แตกต่าง
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย ทองคำ แก้วสุข
2. นาย ถิรวุฒิ ธรรมเจริญ
3. นาย พีรพงษ์ หงษ์โต
4. นาย วิรัตน์ เจริญสุข
5. นาย ชูสกุล พรหมมาศ
ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว กาญจนา อ่านเรื่อง
2. นาย ชฎายุ อรุณชาติตระกูล
3. นาย นนทกร กาแก้ว
4. นาย ณฐกร เทศรักษ์
5. นาย ภัทรพล เดชาชุติรัตน์
โครงการ เครื่องวัดความชื้น อุณหภูมิ และแร่ธาตุในดินได้สร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาด้านเกษตรกรรมในเรื่องของการเพาะปลูกพืช จากการจัดสภาพดินหรือสภาพแวดล้อมที่ใช้สำหรับการเพาะปลูกนั้นอาจไม่มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ทำให้ผลการเจริญเติบโตที่ได้มีความผิดพลาดหรือไม่มีความสมบูรณ์ โดยคณะผู้จัดทำมุ่งหวังที่จะใช้ เครื่องวัดความชื้น อุณหภูมิ และแร่ธาตุในดิน ลดปัญหาของการเพาะปลูกอันเกิดจากการปรับสภาพแวดล้อมดินไม่เหมาะสม ภายในตัวชิ้นงานประกอบไปด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับสั่งการและประมวลผลเป็นไมโครคอนโทรลเลอร์บอร์ด arduino mega 2560 จะทำการรับค่าแรงดันจากเซ็นเซอร์แต่ละตัวมาเพื่อประมวลผลและส่งไปแสดงผลที่จอ LCD TFT 1.8 โดยเซ็นเซอร์ที่จะใช้สำหรับวัดค่าความชื้นจะเป็นเซ็นเซอร์ Soil (Moisture) Sensor เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิเป็น DHT21 และเซ็นเซอร์วัดแร่ธาตุในดินจะมาจากเครื่องวัดดิน แบบ 4in1 โดยจะทำการนำแรงดันที่วัดได้มาประมวลผลใน arduino แล้วแสดงผลผ่านจอ LCD TFT 1.8 เมื่อดำเนินการสร้างเสร็จ นำไปทดลอง โดยการใช้เครื่องวัดสภาพดินแบบต่างๆ แล้วสังเกตว่ามีความถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ โดยความชื้นจะเป็นการทดสอบการตอบสนองของเซ็นเซอร์ในดินที่มีความชื้นแตกต่างกัน อุณหภูมิจะเป็นการทดสอบเปรียบเทียบความแม่นยำกับปรอทแล้วสังเกตว่าค่าทีได้คาดเคลื่อนมากเพียงใด และการวัดแร่ธาตุในดินโดยทดสอบกับดินที่มีสภาพแร่ธาตุสารอาหารที่แตกต่าง
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย ทองคำ แก้วสุข
2. นาย ถิรวุฒิ ธรรมเจริญ
3. นาย พีรพงษ์ หงษ์โต
4. นาย วิรัตน์ เจริญสุข
5. นาย ชูสกุล พรหมมาศ
ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว กาญจนา อ่านเรื่อง
2. นาย ชฎายุ อรุณชาติตระกูล
3. นาย นนทกร กาแก้ว
4. นาย ณฐกร เทศรักษ์
5. นาย ภัทรพล เดชาชุติรัตน์
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
เครื่องวัดความชื้น อุณหภูมิ และแร่ธาตุในดิน
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
1แหล่งจ่ายจากถ่าน 9V ทำหน้าที่จ่ายไฟให้ไมโครคอนโทรลเลอร์และและวงจร 2ไฟ 5V จากไมโครคอนโทรลเลอร์ จ่ายให้เซ็นเซอร์ DHT21 ทำการอ่านค่าอุณหภูมิ และแสดงค่าที่วัดได้ให้แสดงผลที่จอ LCD TFT 3ไฟ 5V จากไมโครคอนโทรลเลอร์จ่ายให้ออปแอมป์ทำการแปลงค่าแรงดันจากเซ็นเซอร์วัดค่าแร่ธาตุในดิน และความชื้นส่งต่อมายังไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อคำนวณค่าแสดงผลจากอนาล็อกออกมา เป็นดิจิตอลผ่านจอ LCD TFT 4จอ LCD TFT แสดงค่าความชื้น อุณหภูมิ และแร่ธาตุของดิน 1ลดปัญญาที่เกิดจากการจัดสภาพของดินให้เหมาะต่อการเพาะปลูก 2เพิ่มความสะดวก รวดเร็ว ในการตรวจสอบสภาพของดิน 3สามารถนำไปพัฒนาต่อในเชิงพาณิชย์ได้

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 626
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf