ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ ปี 2560

ในปัจจุบันเกษตรกรผู็เพาะปลูกและผลิตพริกไทยดำต้องเสียเวลาในการแกะเมล็ดพริกไทยออกจากช่อเพื่อนำมาผลิตเป็นเมล็ดพริกไทยดำซึ่งต้องใช้แรงงานคนจำนวนมากและใช้เวลานาน อีกทั้งมีความเมื่อยล้าจากการนั่งนานๆตลอดจนมีการปวดแสบปวดร้อนจากการสัมผัสพริกไทยเป็นเวลานานๆอีกด้วย จากปัญหาดังกล่าวคณะผู้ประดิษฐ์จึงได้สร้างเครื่องกะเทาะพริกไทยออกจากช่อขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกและแก้ปัญหาดังกล่าวให้กับเกษตรกร

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย ศุภชัย จันทร์ประดิษฐ์
2. นาย สุริยา กันลือนาม
3. นาย สัจกร ทองมีเพชร
4. นาย ณรงค์ แก้วกาฬสินธุ
5. นางสาว จารุวรรณ จิตรแหง

ผู้ประดิษฐ์
1. นาย ณรงค์เกียรติ ครรชิต
2. นาย เอกมล แก้วขาว
3. นาย สิทธินนท์ ถิ่นสมอ
4. นาย จิรวัฒน์ สงค์สิริจินดา
5. นาย ภาณุพงศ์ แสงสิทธิ์
6. นาย พุฒิพงษ์ แต่งเลี่ยน
7. นางสาว วรัญญา พันธ์เพชร
8. นางสาว สิรินทรา ศรีชัยชนะ
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
เครื่องกะเทาะพริกไทยออกจากช่อ
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
ตัวเครื่องกะเทาะพริกไทยมีส่วนประกอบหลัก 5 ส่วน ดังนี้คือ ส่วนที่ 1 โครงสร้างของตัวเครื่องกะเทาะพริกไทยออกจากช่อ ส่วนที่ 2 ระบบส่งกำลังของเครื่องกะเทาะพริกไทยออกจากช่อ ส่วนที่ 3 ชุดอุปกรณ์กะเทาะเมล็ดพริกไทยออกจากก้านช่อ ส่วนที่ 4 ชุดอุปกรณ์แยกมะเล็ดพริกไทย เศษฝุ่นผงออกจากกัน และถาดรองรับเมล็ดพริกไทยที่สมบูรณ์ และ ส่วนที่ 5 แผงควบคุมการทำงานของเครื่องกะเทาะพริกไทยออกจากช่อ โดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขนาด1/4 Hp แรงเคลื่อน 220 V เป็นแหล่งต้นกำลัง จากการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการกะเทาะเมล็ดพริกไทยออกจากช่อ ระหว่างการกะเทาะด้วยเครื่องฯ กับการแกะด้วยแรงงานคน (ช่อพริกไทยที่มีค่าความชื้น 12 %) ครั้งละ 1 กิโลกรัม ทดลองจำนวน 3 ซ้ำ โดยหลังจากพบว่าในการกะเทาะพริกไทยจำนวน 1 กิโลกรัม ด้วยเครื่องกะเทาะพริกไทยออกจากช่อจะใช้เวลาเฉลี่ย 72• 18 วินาที ซึ่งการแกะพริกไทยจำนวน 1 กิโลกรัม ด้วยแรงงานคนจะใช้เวลาเฉลี่ย 187• 23 วินาที ซึ่งการกะเทาะด้วยเครื่องเร็วกว่าการแกะด้วยแรงงานคน
• 45 เท่า
• ผู้ประกอบอาชีพผลิต แปรรูปและจำหน่ายพริกไทย
• ช่วยลดระยะเวลาที่ใช้ในการแกะเมล็ดพริกไทยออกจากช่อ
• ช่วยลดต้นทุนด้านแรงงานคน ช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิต
• ช่วยรักษาสุขภาพร่างกายที่ไม่ต้องนั่งแกะเมล็ดพริกไทยเป็นเวลานานๆ

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 563
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf