ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์และสมองกลฝังตัว ปี 2562
การทำเกษตรอัจฉริยะ ต้องใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดแรงงานในภาคเกษตร จึงจำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่มีความแม่นยำในการเคลื่อนที่ หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามสายไฟคลื่นความถี่ สามารถทำงานได้หลายรูปแบบ เช่น การเพาะปลูก การให้ปุ๋ย การพ่นยา ฯลฯ. ขณะทำงานไม่ต้องพึ่งพาคนควบคุม หรือมีระบบที่ซับซ้อนใดๆ มีระยะการทำงานที่ผิดพลาดน้อยกว่า 4 เซนติเมตร (เมื่อได้จัดระบบสายไฟคลื่นความถี่ไว้อย่างถูกต้อง) หุ่นยนต์จะเคลื่อนที่โดยไม่ทำให้พืชผลทางการเกษตรเกิดความเสียหาย การทำงานของหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่ถูกกำหนดตามเส้นสายไฟฟ้าพลังงานต่ำ (ดี.ซี. 12 โวท์ล) ที่ปล่อยคลื่นความถี่ออกมาจากเครื่องสร้างคลื่นความถี่พลังงานต่ำ โดยที่ตัวหุ่นยนต์จะมีเซนเซอร์คอยตรวจจับคลื่นความถี่ มีระบบสมองกลฝังตัว (ไมโครคอลโทรลเลอร์) วิเคราะห์ข้อมูล สั่งงานต่างๆ และคอยควบคุมการเคลื่อนที่ไปตามคลื่นความถี่ (โลหะนำไฟฟ้า) ตัวหุ่นยนต์ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ หรือโซล่าเซลล์ หรืออาจเป็นเครื่องยนต์เมื่อต้องการกำลังที่มากขึ้น
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย พิทยา แก้วอักษร
2. นาง จริยา เอียบสกุล
3. นางสาว ปราลานี สมุทรจาง
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย ชัยมงคล แฝงลาภ
2. นาย ธวัชชัย แช่มช้อย
3. นาย ณัฐวุฒิ วรรณศิลป์
4. นาย วีรพล ไทยพานิช
การทำเกษตรอัจฉริยะ ต้องใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดแรงงานในภาคเกษตร จึงจำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่มีความแม่นยำในการเคลื่อนที่ หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามสายไฟคลื่นความถี่ สามารถทำงานได้หลายรูปแบบ เช่น การเพาะปลูก การให้ปุ๋ย การพ่นยา ฯลฯ. ขณะทำงานไม่ต้องพึ่งพาคนควบคุม หรือมีระบบที่ซับซ้อนใดๆ มีระยะการทำงานที่ผิดพลาดน้อยกว่า 4 เซนติเมตร (เมื่อได้จัดระบบสายไฟคลื่นความถี่ไว้อย่างถูกต้อง) หุ่นยนต์จะเคลื่อนที่โดยไม่ทำให้พืชผลทางการเกษตรเกิดความเสียหาย การทำงานของหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่ถูกกำหนดตามเส้นสายไฟฟ้าพลังงานต่ำ (ดี.ซี. 12 โวท์ล) ที่ปล่อยคลื่นความถี่ออกมาจากเครื่องสร้างคลื่นความถี่พลังงานต่ำ โดยที่ตัวหุ่นยนต์จะมีเซนเซอร์คอยตรวจจับคลื่นความถี่ มีระบบสมองกลฝังตัว (ไมโครคอลโทรลเลอร์) วิเคราะห์ข้อมูล สั่งงานต่างๆ และคอยควบคุมการเคลื่อนที่ไปตามคลื่นความถี่ (โลหะนำไฟฟ้า) ตัวหุ่นยนต์ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ หรือโซล่าเซลล์ หรืออาจเป็นเครื่องยนต์เมื่อต้องการกำลังที่มากขึ้น
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย พิทยา แก้วอักษร
2. นาง จริยา เอียบสกุล
3. นางสาว ปราลานี สมุทรจาง
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย ชัยมงคล แฝงลาภ
2. นาย ธวัชชัย แช่มช้อย
3. นาย ณัฐวุฒิ วรรณศิลป์
4. นาย วีรพล ไทยพานิช
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามสายไฟคลื่นความถี่ (ROBOT WAVE GENERATOR)
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
การสร้างเส้นให้หุ่นยนต์เดินตามเส้นทางที่กำหนดได้เองอย่างเรียบง่าย ติดตั้งเพิ่มลดเส้นทางได้รวดเร็ว โดยวิ่งไปตามโลหะนำไฟฟ้าหรือสายไฟ สามารถออกแบบอุปกรณ์เพิ่มเติมเพื่อนำหุ่นยนต์ไปใช้ในด้านงานเกษตร งานขนย้ายวัสดุ งานตรวจสอบความปลอดภัย ฯลฯ

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
หุ่นยนต์
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 310
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf