ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ปี 2563

การประดิษฐ์พลาสติกชีวภาพจากเปลือกแก้วมังกร ประดิษฐ์ขึ้นมามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการผลิตพลาสติกชีวภาพจากเปลือกแก้วมังกรที่ง่ายต่อการย่อยสลาย สร้างรายได้และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สามารถนำไปใช้เป็นถุงพลาสติกใส่ของได้หลากหลาย เช่น ของใช้เบ็ดเตล็ด กิ๊ฟช็อป ลูกปัด เป็นต้น รวมทั้งเป็นการส่งเสริมอาชีพที่แปลกใหม่และสามารถนำไปใช้ได้จริง ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้เช่นกัน โดยกลุ่มตัวอย่าง เป็นร้านค้าขายของชำทั่วไป การทดลองพลาสติกชีวภาพจากเปลือกแก้วมังกรน้ำหนัก 0.2 กรัม พบว่าวิธีการย่อยสลายในแหล่งน้ำ ใช้เวลาเพียง 2 วัน ในการย่อยสลาย แต่วิธีการย่อยสลายโดยการฝังกลบ ใช้ระยะเวลา 12 วันแผ่นพลาสติกจึงจะย่อยสลายหมด

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นางสาว ชญานี อุดมสุข
2. นางสาว นันทิยา เมฆมาศ
3. นางสาว ประกายสรวง วงค์วิริยะ
4. นาย จเร ฉิมปรางค์
5. นาง ภัทรณรินทร์ สุขเกษม

ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว กรกนก ศรีแก้ว
2. นาย จาฏุพัธน์ เผ่าผาง
3. นาย ตฤณ พันธุนนท์
4. นางสาว อัจฉรา พรมมาอินทร์
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
พลาสติกชีวภาพจากเปลือกแก้วมังกร
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
เป็นการนำเปลือกแก้วมังกรที่ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กลายเป็นพลาสติกชีวภาพ ที่สามารถย่อยสลายได้ด้วยวิธีการฝังกลบในดินได้ พลาสติกชีวภาพจากเปลือกแก้วมังกรนี้ สามารถนำไปขึ้นรูปให้กลายเป็นห่อบรรจุภัณฑ์ได้ อีกทั้งยังสามารถนำไปประยุกต์ให้กลายเป็นพลาสติกในรูปแบบอื่น เช่น พลาสติกหุ้มผลิตภัณฑ์ต่างๆ ถุงบรรจุภัณฑ์เพาะพันธุ์พืช เป็นต้น การนำเปลือกแก้วมังกรที่เป็นขยะเหลือทิ้งมาแปรรูป ให้มีคุณค่าในรูปแบบพลาสติกชีวภาพนั้น สามารถลดปัญหาขยะพลาสติก และขยะเปลือกแก้วมังกรในชุมชนได้
1. สามารถนำเปลือกแก้วมังกรที่ทิ้งแล้วมาทำให้เกิดประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
2. สามารถเข้าใจกระบวนการทำงานเป็นทีมและแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการทำโครงงาน
3. สามารถลดการใช้ถุงพลาสติกสังเคราะห์ที่ยากต่อการย่อยสลายได้
4. สามารถนำโครงงานที่จัดทำขึ้น ไปสร้างรายได้ระหว่างเรียนให้กับนักเรียน นักศึกษาได้

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 855
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf