ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ ปี 2563

การตั้งซี่ลวดล้อรถจักรยานยนต์ ต้องใช้แรงงานคนและใช้เวลานานเนื่องจากต้องมาจัดลายในการสานซี่ลวดจึงทำให้เสียเวลาและอาจเกิดความผิดพลาดในการสานลายซี่ลวดจากปัญหาดังกล่าวทำให้เสียเวลา แก่ช่างและร้านซ่อมรถจักรยานยนต์(สถานประกอบการ) ซึ่งปัจจุบันสถานประกอบการแต่ละที่ต้องการที่จะทำงานแข่งกับเวลาดังนั้นควรจะขจัดปัญหาการจัดลายและปัญหาการตั้งซี่ลวดล้อรถจักรยานยนต์ที่ต้องใช้เวลานานซี่ลวดล้อรถจักรยานยนต์ทั่วไป นั้นมีจะมีเบอร์ หรือรหัสที่บอกไว้ ตัวอย่างเช่น เบอร์ 10 x 157หมายความว่า ความใหญ่ของซี่ลวดนั้นอยู่ที่ขนาด 10 และมีความยาวเท่ากับ 157 มิลลิเมตร ซึ่งขนาดเบอร์ที่น้อยจะมีขนาดซี่ลวดใหญ่กว่าเบอร์ที่มาก ตัวอย่างเช่น เบอร์ 8 ใหญ่กว่าเบอร์ 9 เบอร์ 9 ใหญ่กว่าเบอร์10

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย ชยางกูร ไชยวงศ์
2. นาย จิระพงศ์ อ่อนหนู
3. นาย วันเฉลิม เชาวลิต
4. นาย ศิวณัฐ เป็ดสุวรรณ
5. นาย กฤษดา เด็กหลี

ผู้ประดิษฐ์
1. นาย นำศิลป์ คชโกศัย
2. นาย ปิติวัส เอื้ออรรถการ
3. นาย ปรเมศ เปรมกลั่น
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
เครื่องตั้งศูนย์ซี่ลวดล้อรถจักรยานยนต์
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
เครื่องตั้งศูนย์ซี่ลวดล้อรถจักรยานยนต์ สามารถใช้งานได้ 2 ขนาด ขนาดวงล้อ 14 นิ้ว และขนาดวงล้อ 17 นิ้ว เมื่อหาประสิทธิภาพทำงานของเครื่องโดยใช้วงล้อขนาด 14 นิ้วและวงล้อ 17 นิ้ว พบว่า การตั้งศูนย์วงล้อ สามารถปรับไม่เกิน3ครั้ง จะสมดุล เวลาการทำงานของคนกับเครื่องของวงล้อขนาด 17 นิ้วและวงล้อขนาด 14 นิ้ว คนใช้เวลาทำงานเฉลี่ย 20.41 นาที เครื่องใช้เวลาทำงานเฉลี่ย 1
6.25 นาที และวงล้อขนาด 14 นิ้ว คนใช้เวลาทำงานเฉลี่ย 18.26 นาที เครื่องใช้เวลาทำงานเฉลี่ย 1
4.26 นาที ช่างซ่อมในสถานประกอบการสามารถลดเวลาในการทำงานได้ ช่างซ่อมในสถานประกอบการผู้ใช้เครื่องตั้งศูนย์ซี่ลวดล้อรถจักรยานยนต์สามารถนำเวลาที่เหลือไปปฏิบัติงายอย่างอื่นได้

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 854
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf